วิธีวิทยาการบริหารงานวิจัยท้องถิ่นที่เหมาะสมต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการที่ดินและทรัพยากรโดยชุมชนของภูมินิเวศวัฒนธรรมภาคเหนือ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-103
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : วิธีวิทยาการบริหารงานวิจัยท้องถิ่นที่เหมาะสมต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการที่ดินและทรัพยากรโดยชุมชนของภูมินิเวศวัฒนธรรมภาคเหนือ
บทคัดย่อ :

บทความนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือในการ

ปฏิบัติการ วัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพื่อติดตามรวบรวมสถานการณ์และทบทวนบทเรียนการจัดการที่ดิน

และทรัพยากรโดยชุมชนในอดีตและปัจจุบันของชุมชนในภูมินิเวศวัฒนธรรมภาคเหนือ 2) เพื่อประเมินและ

สังเคราะห์องค์ความรู้วิธีวิทยาบริหารงานวิจัยท้องถิ่นในการจัดการที่ดินและทรัพยากรโดยชุมชนในปัจจุบัน

ของชุมชนในภูมินิเวศวัฒนธรรมภาคเหนือ และ 3) เพื่อพัฒนาพื้นที่รูปธรรมการจัดการที่ดินและทรัพยากร

โดยชุมชนภายใต้องค์ความรู้วิธีวิทยาบริหารงานวิจัยท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่า วิธีวิทยาการบริหารงานวิจัย

เพื่อท้องถิ่น เป็นชุดของวิธีปฏิบัติในการแสวงหาความรู้จากความจริง โดยมีการปรับบทบาทของชุมชนใน

ฐานะเป็นกลุ่มเป้าหมายจากการวิจัยมาเป็นผู้วิจัย ในการจัดการที่ดินและทรัพยากรโดยชุมชน เกิดองค์ความรู้ที่

เป็นรูปธรรมในการวิเคราะห์พื้นที่ นำไปสู่การตั้งโจทย์วิจัย และออกแบบการวิจัย เกิดความรู้ที่ผ่านการ

สังเคราะห์ ในกระบวนการพิสูจน์สิทธิเชิงจารีต และนำไปสู่การออกแบบเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น การบริหาร

จัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินมีความสอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมอย่างยั่งยืน

คำสำคัญ : วิธีวิทยา การบริหารงานวิจัยท้องถิ่น การจัดการที่ดินและทรัพยากรของชุมชน ภูมินิเวศวัฒนธรรมภาคเหนือ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Methodology of Community-Based Research to Develop Appropriate Local Model Land Management and Community Resources, Ecological Culture of the Region
Abstract :

This article is a study to Qualitative Research By using participatory action research as a tool for action.

The objective 1) of this research was to collect, analyze, and revise the land and resource management lessons

learned by the community in the past and present of the community in the northern 2) ecological landscape in

order to evaluate and synthesize the knowledge, Land and resources by the community in the present ecological

community in the northern and northern cultures. And 3) The concrete management of land and resources by the

community under the Knowledge Management Research Methodology local. The results of the research showed

that Research Methodology for Local Research It is a set of practices to seek knowledge from the truth. The

significance of the adjustment of the role of the community as a target group from research to research. The

management of land and resources by the community when using local research as a condition of operation was

found. Creates a concrete knowledge of the first stage of analytical space. Lead to research problems. And research

design. Bring about knowledge. To find knowledge from the truth. Consisting of the process of proving a

conservative right. And elevate it to design as a local ordinance. Utilization of soil resources management

according to geosocial base sustainably.

Keyword : Methodology of Local Research Administration, Land Management and Community, Resources Ecological Culture North
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.ปณิธี บุญสา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2560)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2560
1/10/2559 ถึง 30/9/2560
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
1,800,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,800,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
1 พฤษภาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงนโยบายระดับชาติ
1 พฤษภาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงนโยบายระดับชาติ
1 พฤษภาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงนโยบายระดับชาติ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023