ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ต่อการท่องเที่ยวบริเวณชายหาดแม่โจ้ จังหวัดชุมพร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : ชพ.65-นศ.-002
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 มกราคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ต่อการท่องเที่ยวบริเวณชายหาดแม่โจ้ จังหวัดชุมพร
บทคัดย่อ :

งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมจากการท่องเที่ยวและเพื่อเสนอแนวทางการรับมือผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวบริเวณชายหาดแม่โจ้ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างที่พักและร้านอาหารบริเวณชายหาดแม่โจ้ จำนวน 12 แห่ง และแบบสอบถามนักท่องเที่ยวแบบออนไลน์ จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่ามัธยฐาน ผลการศึกษาพบว่านักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบอยู่ในระดับมากความเสื่อมโทรมของชายหาด (x?= 3.68, S.D.=0.902) ด้านรายได้ (x? = 3.63) และปัญหาภายในครัวเรือน (x? = 3.55) สอดคล้องกับผู้ประกอบการได้รับผลกระทบด้านรายได้ที่ลดลง (ร้อยละ50) สินค้าราคาแพงขึ้น (ร้อยละ16) นอกจากนี้ จะเห็นว่าผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดจากการพัดพามาจากน้ำทะเล (x? = 3.61) และการชำรุดของสิ่งอำนวยความสะดวกบริเวณชายหาด (x? = 3.62) สำหรับแนวทางในการรับมือผลกระทบจากการแพร่ระบาดไวรัสโควิด 19 พบว่ามีโครงการช่วยเหลือเงินเยียวยาจากรัฐ และประชาชนหันมาทำอาชีพเสริมเพื่อมาจุนเจือในครัวเรือนและธุรกิจ เช่น การทำสวน ทำประมงและขายของออนไลน์ รวมถึงการปรับตัวในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคไวรัสโควิด 19

คำสำคัญ : ผลกระทบทางการท่องเที่ยว , ผลกระทบทางเศรษฐกิจ , ผลกระทบทางสังคม , การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด 19
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The impacts of the Covid-19 pandemic at Maejo Beach, Chumphon Province.
Abstract :

The main aims of this study were to study economic, social and environmental impacts of tourism and to propose guidelines for managing the impact of the COVID-19 pandemic on entrepreneurs and tourists at Maejo Beach, Lamae District, Chumphon Province. Data were collected using an in-depth interview with 12 samples including hotel and restaurants and a self-administered “by online” questionnaire with 200 tourists and the data were analyzed using descriptive statistics: frequency, mean, percentage and standard deviation (S.D.). The study found that most of the tourists were affected at a high level in beach degradation (x?= 3.68, S.D.=0.902), reduced income (x? = 3.63) and household problems (x? = 3.55), In line with the entrepreneurs affected by the decline in income (50 %) , higher price products (16%) , In addition, it can be seen that the deteriorating environmental impact is caused by the problem of solid waste caused by seawater transport (x?= 3.61) and the breakdown of beach facilities (x? = 3.62) . For guidelines for dealing with the impact of the COVID-19 pandemic found that there was a relief fund from state projects. People make additional occupations to support their families, such as agriculture, fishery, online merchant and adaptation in the situation of the Covid-19 pandemic.

Keyword : Tourism impact, Economic impact, Social impact, COVID-19 pandemic.
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมวิชาการ
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ศุภาวัลย์ มีบัว
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
35 ไม่ระบุ
2 พิมพ์ชนก สุขะปุณพันธ์
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
35 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ รักษาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ ณ ทองแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/1/2565 ถึง 31/5/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
9 ธันวาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : -
หน้า : 434-444
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023