ผลของการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุดต่อจลนศาสตร์การผลิตแก๊สและการย่อยได้ในหลอดทดลอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : สศ.-65-003
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุดต่อจลนศาสตร์การผลิตแก๊สและการย่อยได้ในหลอดทดลอง
บทคัดย่อ :

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุด (MANGTAN) ลงในกากถั่วเหลืองต่อจลนศาสตร์การผลิตแก๊ส และการย่อยได้ในหลอดทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) โดยมีทรีตเมนต์ที่ทำการศึกษา 8 ทรีตเมนต์ประกอบด้วยการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุด ในปริมาณ 5 10 15 20 25 30 35 และ 40 ml/100 g ของกากถั่วเหลือง พบว่าการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุด ส่งผลต่อจลนศาสตร์การผลิตแก๊สและปริมาณแก๊สสะสมที่ 120 ชั่วโมงหลังการบ่ม โดยพบค่าแก๊สที่น้อยที่สุดในทรีทเมนต์ที่มีการเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุด ที่ 15 ml/100 g ของกากถั่วเหลือง (P < 0.05) การย่อยได้ของวัตถุแห้งและอินทรียวัตถุในหลอดทดลองที่ชั่วโมงที่ 12 และ 24 ในกลุ่มที่เสริม MANGTAN ที่ 15 ml/100 g ของกากถั่วเหลือง มีค่าสูงและแตกต่างจากกลุ่มอื่นยกเว้นกลุ่มที่เสริม MANGTAN ที่ 20 ml/100 g ของกากถั่วเหลือง อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) จากข้อมูลผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า การเสริมสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุดลงในกากถั่วเหลืองช่วยลดการผลิตแก๊ส แต่เพิ่มการย่อยได้ในหลอดทดลอง อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้ยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมว่าสารสกัดแทนนินสามารถใช้เป็นตัวยับยั้งการย่อยสลายโปรตีนในกระเพาะรูเมนได้หรือไม่ ดังนั้น จึงควรมีการวิจัยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาการย่อยได้ของโปรตีน

คำสำคัญ : สารสกัดแทนนิน; เปลือกมังคุด; ความสามารถในการย่อยได้ในหลอดทดลอง; จลนศาสตร์การผลิตแก๊ส
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effect of mangosteen peel extract (Garcinia mangostana L.) supplementation on in vitro gas production kinetics and digestibility
Abstract :

This study aimed to investigate the effect of tannin extract from mangosteen peel (MANGTAN) in soybean meal on in vitro gas production kinetics and digestibility. Completely randomized design (CRD) was used as experimental design with eight treatments consisted of 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35 and 40 ml of MANGTAN/ 100 g of soybean meal. It was found that MANGTAN influenced the gas production kinetics and cumulative gas production at 120h of incubation which was found the lowest gas volume at level 15 ml of MANGTAN/100 gram of soybean meal (P < 0.05). In vitro dry matter and organic matter digestibility at 12 and 24 hr. were higher in MANGTAN supplementation at 15 ml of MANGTAN/100 g of soybean meal when compared to the other groups except treatment at level of 2 0 ml of MANGTAN/100 gram of soybean (P < 0.01). Based on the results, it could be summarized that MANGTAN supplementation could reduce gas production kinetics but increase in vitro digestibility. However, this research should be studied more that is MANGTAN supplementation can protect protein in the rumen. Therefore, more research

should be done especially, study on protein digestion.

Keyword : tannin extract; mangosteen peel; in vitro digestibility; gas production kinetics
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นางสาวชุติกาญจน์ ศรทองแดง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : นักศึกษาปริญญาเอก คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้วิจัยหลัก
50 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุบรรณ ฝอยกลาง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 อาจารย์ ดร.อานนท์ ปะเสระกัง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 รศ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรอาหารสัตว์เขตร้อน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 ผศ.ดร.ณรกมล เลาห์รอดพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร หลักสูตรสาขาวิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
2 สิงหาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : วารสารสัตวศาสตร์ 3 (พิเศษ 1)
หน้า : 233-240
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023