อาชีพเกษตรกรรมมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากการเกษตรเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของชาวโลก ก่อให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานวัตถุดิบให้กับภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ สร้างรายได้ให้กับปะเทศ ในปี 2562 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกพืชผลทางการเกษตรถึง 1,177,239 ล้านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) นอกจากนี การเกษตรยังเป็นแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมานาน การพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืนจึงถือเป็นหัวใจสาคัญสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ปัจจุบันการเกษตรของประเทศไทยเผชิญกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั งในด้านของปัญหาสภาวะโลกร้อนและวิกฤตการณ์ภัยแล้ง ซึ่งภัยแล้งเกิดจากปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ไม่เพียงพอต่อความต้องการหรืออาจเกิดจากฝนตกไม่ถูกต้องตามฤดูการก่อให้เกิดการขาดแคลนนา ขาดความชุ่มชื่น สร้างความเสียหายต่อภาคการเกษตรในวงกว้าง ทาให้พืชผลทางการเกษตรไม่สมบูรณ์และไม่เจริญเติบโต (ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2562) การขาดแคลนนาหรือภัยแล้งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ นต่อเนื่องและยาวนาน ทาให้เกิดการช่วงชิงทรัพยากรนาระหว่างชุมชนเมือง อุตสาหกรรม และชนบท ซึ่งในภาคการเกษตรมีการใช้นามากกว่าร้อยละ 90 ของนาทั งหมด เกิดความไม่สมดุลของปริมาณนา ทาให้เกิดความไม่สมดุลของปริมาณนาส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตเกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศและสภาพแวดล้อม (โครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555) ประเทศไทยมีปริมาณฝนรวมตลอดปีเฉลี่ยทั่วประเทศประมาณ 1,572.5 มิลลิเมตร ปริมาณฝนในแต่ละพื นที่ เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศ นอกเหนือจากการผันแปรตามฤดูกาล บริเวณประเทศไทยตอนบนปกติจะแห้งแล้ง และมีฝนน้อยในฤดูหนาว (กรมอุตุนิยมวิทยา, มปป.) ดังนั นประเทศไทยจึงมีแนวทางในการจัดการนาโดยกรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักที่ทาหน้าที่ในดูแลการจัดการทรัพยากรนาและจัดสรรทรัพยากรนาของประเทศ โดยทาการสร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บนารวมถึงอ่างเก็บนา และจัดการนาในระบบชลประทาน ปัจจุบันประเทศไทยสามารถกักเก็บนาเพื่อใช้งานได้ในฤดูแล้งได้ 74,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่สามารถใช้ได้จริงเพียงปีละ 55,000 ล้านลูกบาศก์เมตร และสามารถใช้ได้ในพื นที่ชลประทานเท่านั น (โครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555) ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการใช้งานของเกษตรกรภายในประเทศ ซึ่งจากรูปที่ 4 การใช้นาในภาคเกษตร เช่น การปลูกข้าว อ้อย และมันสาปะหลัง ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของมีการใช้ในปริมาณที่สูง ขณะเดียวกันก็ให้ผลการตอบแทนที่ต่าเมื่อเทียบกับการปลูกพืชที่ใช้นาน้อย ดังนั นการใช้นากับภาคเกษตรประเภทนี จึงเป็นอีกสาเหตุที่ทาให้ปริมาณนาไม่เพียงพอ ซึ่งการแก้ไขอาจต้องเปลี่ยนแนวคิดการปลูกพืชตามที่ภาครัฐสนับสนุน