การศึกษาการเจริญเติบโตและปริมาณวิตามินซีในผักสลัดที่ปลูกในโรงงานผลิตพืชและโรงเรือน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาการเจริญเติบโตและปริมาณวิตามินซีในผักสลัดที่ปลูกในโรงงานผลิตพืชและโรงเรือน
บทคัดย่อ :

ผักสลัดเป็นพืชที่บริโภคใบสดและเป็นที่นิยมบริโภค เนื่องจากมีปริมาณวิตามินซีสูงซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็น

ประโยชน์ต่อร่างกาย ปัจจัยสภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต ส่งผลต่อคุณภาพของผักสลัดทำให้ไม่สามารถปลูกผัก

สลัดที่มีคุณภาพดีได้ตลอดทั้งปี การปลูกในสภาพโรงเรือนไม่สามารถควบคุมสภาวะต่างๆ รวมถึงโรคและศัตรูพืชได้ งานวิจัยนี้

ทำการศึกษาการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัดพันธุ์ฟิลเลย์และคอสที่ปลูกด้วยเทคโนโลยีการผลิตพืชในระบบปิดหรือ

โรงงานผลิตพืช โดยมีการควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ด้วยการใช้แสงเทียมจากหลอด LED ความเข้ม 150 PPFD เป็นเวลา

16 ชั่วโมง อุณหภูมิ 23 องศาเซลเซียส และความชื้น 60 เปอร์เซ็นต์ เปรียบเทียบกับสภาพโรงเรือนระบบเปิด พบว่า ผักสลัด

พันธุ์ฟิลเลย์ที่ทำการทดลองปลูกในโรงงานผลิตพืชมีจำนวนใบ ความสูง น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งต้นมากกว่าที่ปลูกใน

โรงเรือนอย่างมีนัยสำคัญและผักสลัดพันธุ์คอสมีจำนวนใบ ความกว้างทรงพุ่ม น้ำหนักสดต้นและราก รวมถึงน้ำหนักแห้งที่

มากกว่าในโรงเรือนอย่างมีนัยสำคัญเมื่อปลูกในช่วงนอกฤดูกาล ผักสลัดทั้งสองพันธุ์ที่ปลูกในโรงงานผลิตพืชมีปริมาณวิตามิน

ซีสูงกว่าที่ปลูกในโรงเรือน การปลูกผักสลัดในโรงงานผลิตพืชสามารถปลูกได้ทั้งในและนอกฤดูกาลเพื่อให้ได้ผลผลิตตาม

ต้องการและผักมีคุณภาพดี มีความสดสะอาด ปลอดต่อโรคและแมลงมากกว่าการปลูกในโรงเรือน

คำสำคัญ : ผักสลัด การเจริญเติบโต วิตามินซี โรงงานผลิตพืช
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :
Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
35 ไม่ระบุ
2 น.ส.อารุณพร นาห่อม
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตรื
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
25 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารวี กาญจนประโชติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.ทิพปภา พิสิษฐ์กุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
5 น.ส.ณิชมน ธรรมรักษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
4 กุมภาพันธ์ 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023