การพัฒนากลูโคสเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้อนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะต่าง ๆ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-011.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนากลูโคสเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้อนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะต่าง ๆ
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ได้พัฒนากลูโคสเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้ขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะคล้ายปะการังและอนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนขึ้น เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณกลูโคสในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 0.1 โมลาร์ จากผลการทดลองพบว่า เมื่อนำขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอนที่มีอนุภาคนิกเกิลและอนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนอยู่สามารถช่วยเพิ่มค่ากระแสออกซิเดชันของการวิเคราะห์ปริมาณกลูโคสได้เป็นอย่างได้ ได้ช่วงความเป็นเส้นตรง 2 ช่วง คือ 0.0012 – 1.69 มิลลิโมลาร์ (y = 11.505x - 2.0083, R? = 0.999) และ 0.04 – 41.86 มิลลิ โมลาร์ (y = 87.16x + 4.1814, R? = 0.9972) ค่าขีดจำกัดต่ำสุดของการตรวจวัดเชิงคุณภาพเท่ากับ 0.59 ไมโครโมลาร์และค่าขีดจำกัดต่ำสุดของการตรวจวัดเชิงปริมาณเท่ากับ 1.5 ไมโครโมลาร์ นอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้ในตัวอย่างปัสสาวะได้ผลเป็นอย่างดีและมีค่าร้อยละการกลับคืนอยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ (96.58-106.42)

คำสำคัญ : กลูโคสเซนเซอร์ , อนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะคล้ายปะการัง , อนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอน , ปัสสาวะ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

In this work, an electrochemical assay using a glassy carbon electrode was developed to detect glucose based on coral-like Ni particles and ordered mesoporous carbon. The glucose measurement was carried out in 0.1 M NaOH solution. The enhanced response of glucose at coral-like Ni particles and ordered mesoporous carbon on glassy carbon electrode surface was obtained from electrochemical assay. Amperometric measurements of glucose showed the linear response in the range of 0.0012 – 1.69 (y = 11.505x - 2.0083, R? = 0.999) and 0.04 – 41.86 (y = 87.16x + 4.1814, R? = 0.9972) mM. Limit of detection and limit of quantitation of this method are found to be 0.59 and 1.5 ?M, respectively. Furthermore, this glucose sensor could also be successfully applied to real urine sample analysis with satisfactory results and excellent recoveries (96.58-106.42).

Keyword : Glucose sensor, Coral-like Ni particles, Ordered mesoporous carbon, Urine
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 น.ส.จิราภรณ์ กิติกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
50 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.กุลวดี ปิ่นวัฒนะ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
300,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 300,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023