วิสาหกิจชุมชนโดยใช้บริบทการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรประมงในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-004.7
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : วิสาหกิจชุมชนโดยใช้บริบทการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรประมงในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อน
บทคัดย่อ :

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแนวทางการพัฒนาชุมชนประมงสู่วิสาหกิจชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ชาวประมงจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านการประมง ศึกษาระดับความพ้อม ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของคนในชุมชนประมงในการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน และแนวทางแนวทางการพัฒนาชุมชนประมงสู่วิสาหกิจชุมชน โดยทำการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 386 ราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า มากกว่าครึ่งของกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41-60 ปี นับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ในพื้นที่ชุมชนประมงบริเวณเขื่อนกิ่วลม ส่วนมากประกอบอาชีพทำการเกษตร และไม่มีตำแหน่งทางสังคม ด้านความเข้มแข็งของพื้นที่ พบว่า ในชุมชนมีความเข้มแข็งด้านความสามัคคีมากที่สุด ด้านโครงสร้างพื้นฐานนั้นทางชุมชนค่อนข้างมีสาธารณูปโภคพื้นฐานในระดับที่ดี ความเข้มแข็งของผู้นำ และความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ในส่วนของความคิดเห็น และความพร้อมของคนในชุมชนต่อการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนนั้นมี อยู่ในระดับมาก ด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของคนในชุมชน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ สถานภาพทางสังคม อีกทั้งปัจจัยด้านความเข้มแข็งของผู้นำในชุมชน ยังมีความสัมพันธ์ต่อความพร้อมของคนชุมชนต่อการจัดตั้งวิสาหิจชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ปัญหาของชุมชน คือ ขาดการสนับสนุนทางด้านความรู้ และความเข้าใจต่อการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนจากทางภาครัฐ และปัญหาทางด้านการตลาดของสินค้าทางการเกษตร ดังนั้นภาครัฐควรมีการเข้ามาให้ความรู้ สนับสนุนคนให้มีความเข้าใจต่อการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน

คำสำคัญ : เขื่อนกิ่วลม ชุมชนประมง วิสาหกิจชุมชน จังหวัดลำปาง การจัดการทรัพยากรประมง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Approaches to Development of Fisheries Communities toward Community Enterprise: A Case Study of Fisheries Communities in Kew Lom Dam, Lampang Province
Abstract :

The study on approaches to development of fisheries communities toward community enterprise: a case study of fisheries communities in Kew Lom dam, Lampang province aimed to study the fishery resource utilization by interviewing 386 samples. The results showed that most samples were male and then were between 41-60 years old. The highest education level was primary level, almost of sample were local people and most of them were not any committee in the community.

As for the strength of the areas, it was found that in the community’s strength was the most unity. In terms of infrastructure, the community has quite a high level. And the strength of leader as high level as the community organization. For the opinion and readiness of people in community towards the establishment of community enterprise were high level. Finally, the factors that affect to readiness of people in community towards the establishment of community enterprise were age, education, occupation, social status and leader. However, lack of knowledge in community enterprise and marketing were communities’ problems, therefore, the approaches to development of fisheries communities toward community enterprise, communities should be earned the supporting in community enterprise knowledge from government.

Keyword : Kew Lom Dam, Fishery community, community enterprise, Lampang Province, Fishery Management.
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์กานต์ ทิพยาไกรศรี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
70 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์ เทียมเมือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดาพร ตงศิริ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
100,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 100,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023