การเพิ่มศักยภาพการผลิตสาหร่ายเตาด้วยระบบปิดหมุนเวียนน้ำแบบถาดยกทีใช้ เทคโนโลยี Precision farming ผ่าน smart phone

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-01-008
รหัสอ้างอิง วช. : 63A111000022
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพิ่มศักยภาพการผลิตสาหร่ายเตาด้วยระบบปิดหมุนเวียนน้ำแบบถาดยกทีใช้ เทคโนโลยี Precision farming ผ่าน smart phone
บทคัดย่อ :

ปัจจุบันความต้องการการบริโภคสาหร่ายเตาที่มีคุณภาพสูงและปลอดภัยเพิ่มสูงขึ้นในภาคเหนือ การเพิ่มศักยภาพการผลิตสาหร่ายเตาคุณภาพสูงด้วยระบบปิดหมุนเวียนน้ำแบบถาดยกที่ใช้เทคโนโลยีการเลี้ยงแบบแม่นยำเป็นโครงการต่อเนื่อง 3 ปีซึ่งในปีที่ 1 นั้น ได้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อหาปริมาณสารอาหารจากน้ำเลี้ยงปลาที่เหมาะสมในการเลี้ยงสาหร่ายแบบบ่อลอย 2) การศึกษาเปรียบเทียบสารออกฤทธิ์ชีวภาพของการเลี้ยงในสภาวะบ่อลอยกับฟาร์มเอกชน และ 3) การเพิ่มคุณภาพสาหร่าย การเพิ่มสารโพลีฟีนอล และปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ ในการผลผลิตสาหร่ายเตาโดยใช้เทคนิคการใช้ไมโครบับเบิลโอโซน ผลการทดลองพบว่า ปริมาณสารอาหารจากบ่อเลี้ยงปลาที่ให้ผลผลิตสาหร่ายเตาให้ผลดีที่สุดคือที่ค่านำไฟฟ้า 20 ไมโครซีเมนต์/เซนติเมตร (p<0.05) ระดับสารต้านอนุมูลอิสระ สารโพลีฟีนอล จากการผลิตสาหร่ายเตาโดยใช้เทคนิคการผลิตสาหร่ายเตาด้วยระบบหมุนเวียนน้ำบ่อลอยให้ค่าสารต้านอนุมูลอิสะ สารโพลีฟีนอล สูงกว่าสาหร่ายเตาที่เลี้ยงโดยฟาร์มเอกชน และการแช่สาหร่ายในน้ำที่มีฟองอากาศขนาดเล็ก (ไมโครบับเบิลโอโซน) สามารถเพิ่มคุณภาพของสาหร่าย และเพิ่มสารแอนตีออกซิแดนท์ได้ (p<0.05)

คำสำคัญ : สาหร่ายเตา ระบปิดแบบรางยก ปัจจัยการเจริญเติบโต ระบบน้ำหมุนเวียน สารพฤกษเคมี
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Increasing production potential of Spirogyra (Spirogyra neglecta) culture using closed lifting tray system coupling with precision technology farming via smart phone
Abstract :

The high quality of freshwater macroalgae; Spirogyra neglecta is a high demand for local consumption found in Northern Thailand. Productivity increasing capacity of high-quality Spirogyra algae with a lift tray in closed water recirculation system using precision farming technology is a 3-year project. The objectives of the first year were 1) to find the optimum level of nutrient which discharge from fish pond for Spirogyra growth in movable-plastic ponds, 2) to compare the contents of bioactive compounds between 2 culture types; movable-plastic ponds and earthen ponds in a private farm, and 3) to improve quality of Spirogyra algae using ozone micro-bubble technique. The results showed that the most effective nutrient content for Spirogyra algae production was at 20 ?s/ cm (p <0.05) of water conductivity. For comparative farm study, the higher levels of antioxidant levels, polyphenols contents were found in Spirogyra algae which from movable-plastic ponds production system. In addition, soaking Spirogyra algae in water with small air-ozone bubbles (Ozone micro-bubble) could improve the quality of algae and could increase both the antioxidants and polyphenols content (p <0.05).

Keyword : Spirogyra, closed lifting tray culture system, growth factors, water recirculation, phytochemicals
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายประเสริฐ ประสงค์ผล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
40 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัญชา ทองมี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 รองศาสตราจารย์ ดร.นิวุฒิ หวังชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
600,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 600,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
4 มิถุนายน 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : Biomass Conversion and Biorefinery
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : Springer Nature
1
3 มิถุนายน 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : Biomass Conversion and Biorefinery
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : Springer Nature
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023