การประเมินสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมืองอาบพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-022.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประเมินสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมืองอาบพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารออกฤทธ์ิทางชีวภาพจาก

ข้าวเหนียวก่า 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ข้าวเหนียวก่า ลืมผัว ข้าวเหนียวก่า ดอยสะเก็ด และข้าวเหนียวก่า

พะเยา โดยใช้ตัวทา ละลาย 3 ชนิด ได้แก่ น้า สารละลายกรดซิตริก และเอทานอลผสมกรดซิตริก

เพื่อหาอุณหภูมิ ระยะเวลา ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการสกัด โดยพิจารณาจากปริมาณฟืนอลิก และ

กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH พบว่า สภาวะที่เหมาะสมต่อการสกัด คือ การสกัดด้วย

น้าผสมกรดซิตริก โดยมีสภาวะดังนี้ ข้าวเหนียวก่า ลืมผัว ที่ 72.0 ?C เวลา 91.1 นาที pH 1.44

ข้าวเหนียวก่า ดอยสะเก็ด ที่ 72.5 ?C เวลา 83.0 นาที pH 1.39 และข้าวเหนียวก่า พะเยา ที่ 66.3 ?C

เวลา 74.7 นาที pH 1.32 จากนั้นจึงศึกษาผลของการอาบพลาสมาแก๊สออกซิเจนอุณหภูมิต่า ที่มีต่อ

ปริมาณสาร cyanidin-3-O-glycoside จากข้าวเหนียวก่า โดยศึกษาระยะเวลาในการอาบพลาสมาที่

10, 20 และ 30 นาที เปรียบเทียบกับข้าวที่ไม่ผ่านการอาบพลาสมา ผลการทดลองพบว่า การอาบ

พลาสมาส่งผลให้ปริมาณสาร cyanidin-3-O-glycoside จากข้าวเหนียวก่ามีปริมาณสูงขึ้น โดย

ระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุด คือ 20 นาที ซึ่งพบว่า ข้าวเหนียวก่า ลืมผวั ข้าวเหนียวก่า ดอยสะเก็ด และ

ข้าวเหนียวก่า พะเยา มีปริมาณสาร cyanidin-3-O-glycoside เพิ่มขึ้นจาก 202.04 ppm เป็น 382.64

ppm, 10.19 ppm เป็น 19.46 ppm และ 10.97 ppm เป็น 18.62 ppm ตามลา ดับ จากการนา สารสกัดไป

ทา แห้งแบบพ่นฝอย แล้วนา มาทดสอบการเปลี่ยนแปลงของสารออกฤทธ์ิสาคัญในระบบจา ลองทางเดินอาหารของมนุษย์ พบว่า ในสภาวะของการย่อยด้วยกระเพาะอาหาร ปริมาณ cyanidin-3-Oglucoside

มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับสภาวะของลาไส้เล็ก แสดงว่ามีมาก

เพียงพอต่อที่จะเหลือผ่านไปใช้ประโยชน์ในระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย จากนั้นเมื่อนา สารสี

ไปทดสอบความสามารถในการกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต ผลการศึกษาพบว่า

การเสริมสารสีสกัดจากข้าวเหนียวก่า ในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตต้นแบบส่งผลให้การเจริญของแบคทีเรีย

ได้ดี ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงสรุปได้ว่า สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่า พื้นเมืองอาบพลาสมา

อุณหภูมิต่า สามารถประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตได้

คำสำคัญ : ข้าวเหนียวก่า เทคโนโลยีพลาสมา สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพ ระบบจา ลองทางเดินอาหาร โพรไบโอติก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Evaluation of bioactive compound of low temperature plasma treated black glutinous rice for probiotic growth promoter and colorant in yogurt
Abstract :

This study was aimed to extract the bioactive compounds from black glutinous rice (Oryza

sativa L.). The three varieties of black glutinous (Leum Pua, Doi Saket, and Phayao) were extracted

using distilled water, citric acid solvent and ethanolic citric acid solvent. The influences of

temperature, time and pH value on total phenolic content and antioxidant activity (percentage of

inhibition of DPPH free radical) were investigated. The selected solvent was citric acid solvent with

the selected optimum conditions were 72.0 ?C, 91.1 mins at pH 1.44 for Leum Pua, 72.5?C, 83.0

mins at pH 1.39 for Doi Saket, and 66.3?C, 74.7 mins at pH 1.32 for Phayao. The effect of cold

oxygen plasma treatment at 10, 20 and 30 min on cyanidin-3-O-glucoside content was studied. The

result found that plasma treatment offered superior cyanidin-3-O-glucoside content compared with

untreated plasma sample. The optimum condition was 20 min. The cyanidin-3-O-glucoside content

of Leum Pua, Doi Saket, and Phayao extracts were increased from 202.04 to 382.64 ppm, 10.19 to

19.46 ppm, and 10.97 to 18.62 ppm, respectively. The extracts were dried using spray drier and

were then investigated in in vitro digestion process. The results showed that cyanidin-3-O-glucoside

content slightly decreased after gastric digestion process, therefore, this bioactive compound can

maintain its property for benefit in intestinal digestion process. The application of bioactive

compound of low temperature plasma treated black glutinous rice for probiotic growth promoter

was then evaluated and the result demonstrated the probiotic growth enhanced due to adding of

colorant powder prepared from glutinous rice extract. This study concluded that the bioactive

compound of low temperature plasma treated black glutinous rice can be used as probiotic growth

promoter and colorant in yogurt.

Keyword : black glutinous rice, plasma technology, bioactive compound, in vitro digestion process, probiotic
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.จิรพงศ์ ศรศักดานุภาพ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่พันตรี ดร.ประเทือง โชคประเสริฐ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 นางสาวกนกวรรณ เกียรติสัน
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
423,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 423,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
9 ธันวาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : Food Research
ฉบับที่ : 4 (Suppl. 6) : 35 - 41, December 2020
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : Rynnye Lyan Resources
1
1 มกราคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : Cereal Chemistry
ฉบับที่ : 98(1)
หน้า : 1-12
ระดับการนำเสนอ : ระดับนานาชาติ
เจ้าของวารสาร : Wiley-Blackwell
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
8 ธันวาคม 2566
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023