การเพิ่มศักยภาพระบบการผลิตข้าวไร่โดยใช้ถั่วลอดร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-017
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพิ่มศักยภาพระบบการผลิตข้าวไร่โดยใช้ถั่วลอดร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
บทคัดย่อ :

การทดสอบในแปลงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการปรับปรุงดิน และการปลูกข้าวไร่ร่วมกับถั่วทอดต่อผลผลิตของข้าวไร่ และกิจกรรมของแบคทีเรียปมรากถั่วและเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาภายใต้การปลูกบนพื้นที่สูง ใช้แผนการทดลองแบบ split plot มี 3 ซ้า ตารับการทดลองใน main plot ประกอบด้วย วิธีการจัดการดิน 3 วิธี ได้แก่ 1) ตารับควบคุม ซึ่งไม่มีการจัดการดินใดๆ 2) การใช้หินฟอสเฟตในอัตรา 9 กิโลกรัมต่อไร่ และ 3) การใช้ปูนในอัตรา 400 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนตารับทดลองใน sub-plot คือระบบการปลูกพืช 3 ระบบได้แก่ 1) การปลูกข้าวไร่เป็นพืชเดี่ยว 2) การปลูกถั่วลอดเป็นพืชเดี่ยว และ 3) การปลูกข้าวไร่ร่วมกับถั่วลอด ใช้ข้าวไร่พันธุ์ซิวแม่จันและถั่วลอดสายพันธุ์ 55 ดินที่ไม่มีการจัดการใดๆ มี pH 5.0 ถึง 5.8 และมีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ 10 มิลลิกรัม P ต่อกิโลกรัม ผลการทดลองพบว่า วิธีการจัดการดิน ระบบการปลูกพืชและปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างวิธีการจัดการดินกับระบบการปลูกพืช ไม่มีอิทธิพลต่อความสูง จานวนหน่อต่อกอ น้าหนักเมล็ดทั้งหมด น้าหนักเมล็ดดีและน้าหนักต่อรวง ตลอดจนเปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบในทางสถิติ แต่มีอิทธิพลต่อผลผลิตเมล็ดข้าวไร่อย่างมีนัยสาคัญ การใส่หินฟอสเฟตและการใส่ปูนทาให้ผลผลิตข้าวไร่ที่ปลูกเป็นพืชเดี่ยว เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเทียบกับตารับควบคุมซึ่งไม่มีการจัดการใดๆ และผลของการใส่หินฟอสเฟตและการใส่ปูนต่อผลผลิตข้าวไร่ก็ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติด้วย ในแปลงควบคุมซึ่งไม่มีการจัดการดิน การปลูกข้าวไร่ร่วมกับถั่วลอดให้ผลผลิตเมล็ดข้าวต่อไร่ สูงกว่าข้าวไร่ที่ปลูกเป็นพืชเดี่ยว(P<0.01) ในแปลงที่ใส่หินฟอสเฟตก็ให้ผลดังกล่าวเช่นกัน และความแตกต่างของผลผลิตข้าวไร่ที่ปลูกร่วมถั่วลอดในแปลงควบคุม และที่ใส่หินฟอสเฟต ไม่มีนัยสาคัญในทางสถิติด้วย สาหรับการใส่ปูนกลับมีผลทาให้ผลผลิตข้าวไร่ที่ปลูกร่วมกับถั่วลอดต่าที่สุด (P<0.01) ในกรณีของถั่วลอดพบว่าเมื่อปลูกเป็นพืชเดี่ยว ให้จานวนฝักต่อไร่เพิ่มขึ้น เมื่อมีการใส่หินฟอสเฟตและการใส่ปูน และการจัดการดินทั้งสองวิธี ให้ผลไม่แตกต่างกันในทางสถิติในแง่ของผลที่มีต่อการเพิ่มจานวนฝักต่อไร่ของถั่วลอดที่ปลูกเป็นพืชเดี่ยว

ในกรณีของถั่วลอดที่ปลูกร่วมกับข้าวไร่ การใส่ปูนกับมีผลทาให้จานวนฝักต่อไร่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ซึ่งแตกต่างจากการใส่หินฟอสเฟต ในแง่ของดัชนียูรีไอด์สัมพัทธ์ และเปอร์เซ็นต์การเข้าอาศัยอยู่ในรากของถั่วลอดโดยเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา พบว่า วิธีการจัดการดิน ระบบการปลูกพืช และปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจัดการดินกับระบบการปลูกพืช ไม่มีอิทธิพลแต่อย่างใดในทางสถิติ ค่าเฉลี่ยของดัชนียูรีไอด์ สัมพัทธ์ของถั่วลอดที่ระยะ R8 อยู่ในช่วง 85.28 – 100 เปอร์เซ็น ส่วนค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์การเข้าอาศัยในรากถั่วลอดและข้าวไร่โดยเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอยู่ในช่วง 56.67 – 100 เปอร์เซ็นต์

สาหรับน้าหนักแห้งของวัชพืชในแปลงทดลอง พบว่าความแปรปรวนของข้อมูลผันแปรตามปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจัดการดินกับระบบปลูกพืชอย่างมีนัยสาคัญ ในแปลงที่ไม่มีการจัดการดินใดๆ และในแปลงที่ใส่หินฟอตเฟต การปลูกข้าวไร่ร่วมกับถั่วลอด ทาให้น้าหนักแห้งของวัชพืชในแปลงมีน้อยกว่าวัชพืชในแปลงข้าวไร่ที่ปลูกเป็นพืชเดี่ยว แต่ในแปลงที่ใส่ปูนไม่พบความแตกต่างดังกล่าว

คำสำคัญ : ข้าวไร่ ถั่วลอด ปูนขาว หินฟอสเฟต อาร์บัสคูร่าไมคอร์ไรซา ไรโซเบียม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Improving Upland Rice Productivity System by Cowpea (Vigna unquiculata L. Walp) and Effective Microorganisms
Abstract :

This field experiment was conducted in order to investigate the effects of soil improvement and upland rice cowpea, intercropping on upland rice yield and activities of root nodule bacteria and arbuscular mycorrhizal fungi under highland area condition. The split plot experimental designs with 3 replications were used. The main plot treatments consisted of 3 methods of soil management at follow; 1) control without soil management, 2) application of rock phosphate at 9 kg/rai, 3) application of lime at the rate of 400 kg/rai. Three cropping systems, 1) mono cropping of Sew Mae Jun, upland rice cultivar, 2) mono cropping of crawling cowpea line no.55 and intercropping of Sew Mae Jun upland rice and cowpea no.55. In the control plot, without soil management, the soil pH before planting was 5.0-5.8 and had available-P content at 10 mg P/kg. The experimental results indicated that there were no significant effect of methods of soil management, cropping system and interaction between soil management and cropping systems on plant height, no. tillers/hill, weight of the total seed, good seeds and unfilled seeds/panicle and percent unfilled seed of upland rice. But, the those on upland rice seed yield were significant.

The application of rock phosphate and lime resulted in significant increasing of seed yield of upland rice under monocropping compare to the control without soil management. There were no significant different between liming and rock phosphate application for the effects on upland rice seed yield. In the control plot without soil management, upland rice under intercropping with crawling cowpea gave 2 times more seed yield than that of under monocropping. Similar effect was observed also in rock phosphate applied plot and there were no significant different of upland rice yield under intercropping between control and rock phosphate application treatments. When lime was applied, upland rice under intercropping with crawling cowpea gave the lowest seed yield (P<0.01). Significant increasing of the number of pods/rai of crawling cowpea under monocropping system were found also when rock phosphate and lime were applied. These two methods of soil management were not significant different from each other for the effects on the number of pods/rai of crawling cowpea under monocropping system. In contrast, with rock phosphate application, and liming resulted. In significant reduction of number of pods of crawling cowpea in intercropping system, the methods of soil managements, cropping system including the interaction between thosetwo factors did not have significant effects on relative ureide index (RUI), and percent root colonization by arbuscular mycorrhizal fungi (AMF). The RUI at R8 stage crawling cowpea was within the range of 85.28 – 100%, while root colonization by AMF was 56.67 – 100%. Furthermore, there were significant interaction effect between methods of soil management and cropping system on weed dry weight. In the plot without soil management and rock phosphate applied plot, intercropping of crawling cowpea and upland rice resulted in less weed dry weight than that under monocropping of upland rice while such effect was no found in the plot with liming.

Keyword : upland rice, cowpea, lime, rock phosphate, arbuscular mycorrhizal fungi, rhizobium
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์ นาขยัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 นางสาววิลาสลักษณ์ ว่องไว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จีราภรณ์ อินทสาร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 นายสิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
342,520.00
   รวมจำนวนเงิน : 342,520.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
6 สิงหาคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : ประชุมวิชาการพืชวงศ์ถั่วแห่งชาติ ครั้งที่ 7 พืชวงศ
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023