การจำแนกพันธุ์ข้าวไทยในระบบข้าวลูกผสม WA-CMS ด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอ เฉพาะกับยีนแก้ความเป็นหมัน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-010
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การจำแนกพันธุ์ข้าวไทยในระบบข้าวลูกผสม WA-CMS ด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอ เฉพาะกับยีนแก้ความเป็นหมัน
บทคัดย่อ :

การวิจัยนี้ศึกษาความสามารถแก้หมันของเรณูในระบบ Wild Abortive Cytoplasmic Male Sterility

(WA-CMS) จากข้าวไทย โดยการศึกษาความมีชีวิตของเรณู และการติดเมล็ดของต้นลูกรุ่นที่ 1 ระหว่างพันธุ์

เรณูเป็นหมัน (IR58025A) กับพันธุ์ที่ต้องการศึกษา ร่วมกับการตรวจยีน Rf4/PPR9 พบว่าข้าวพันธุ์ ชัยนาท 1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 กข47 กข 49 และลูกแดงปัตตานี จัดเป็นพันธุ์แก้ความเป็นหมัน (Restorer line or R

line) ในขณะที่ข้าวพันธุ์หอมนิล ขาวดอกมะลิ 105 หอมมะลิแดง และนางมลเอส-4 เป็นพันธุ์รักษาพันธุ์เรณู

หมัน (Maintainer or B line). และการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยีนแก้ความเป็นหมัน Rf4 ได้แก่ ยีน PPR9

และ PPR10 และยีน Rf3 กับความสามารถแก้ความเป็นหมันของเรณู จากประชากร F2 ของ IR58025Ax

ชัยนาท 1, IR58025Axปทุมธานี 1, IR58025Axกข47 และ IR58025Axลูกแดงปัตตานี พบว่าลักษณะแก้ความ

เป็นหมันเรณูของข้าวชัยนาท 1 และ กข47 ควบคุมด้วยยีน 2 ยีน ได้แก่ ยีน PPR9 และยีน Rf3 โดยทั้ง 2 ยีน

ทางานร่วมกันแบบ Duplicate dominant Epistasis ส่วนลักษณะแก้ความเป็นหมันของเรณูข้าวปทุมธานี 1

ควบคุมด้วยยีนตาแหน่ง Rf4 โดยยีน PRR9 เป็นยีนหลัก ส่วนยีน PPR10 จะเป็นยีนรอง ในขณะที่ข้าวลูกแดง

ปัตตานี พบว่าลักษณะแก้ความเป็นหมันของเรณูน่าจะมียีนอื่นที่เกี่ยวข้อง นอกเหนือจากยีน Rf4 และ Rf3 แต่

อย่างไรก็ตาม ยีน PPR9 และยีน Rf3 ก็มีบทบาทในการแก้ความเป็นหมันของเรณูของข้าวลูกแดงปัตตานี ซึ่ง

ข้อมูลการจัดกลุ่มและการเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนแก้ความเป็นหมันของเรณูที่ได้ สามารถนาไปใช้ในการ

พัฒนาพันธุ์ข้าวไทยอื่นต่อไป

คำสำคัญ : ระบบหมัน Wild Abortive Cytoplasmic male sterility (WA-CMS) , พันธุ์ข้าวไทย , ความมีชีวิตของ เรณู , ยีนแก้หมันของเรณู , เครื่องหมายดีเอ็นเอ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Identification of maintainer and restorer lines for WA-CMS in Thai rice using male sterility restorer markers
Abstract :

Restoration of male sterility of wild abortive cytoplasmic male sterility (WA-CMS) was studied

from Thai Rice varieties. Pollen fertility, Spikelet fertility of F1 hybrid of the cross between IR58025A and

studied variety and restorer genes Rf4/PPR9 locus were examined. The result revealed that Chai Nat 1

(CNT1), Suphan Buri 1 (SPB1), Pathum Thani 1 (PTT1), RD47, RD49 and Look Daeng Pattani (LDP)

varieties were classified as restorer line (R line), whereas Hom-nin (HN), Khao Dawk Mali 105 (KDML105),

Red Hom Mali (RHM) and Nahng Mon S-4 (NMS-4) varieties were classified as maintainer line (B line).

The molecular markers linked to restorer genes at Rf3 and Rf4, PPR9 and PPR10 genes, loci were

investigated from F2 populations of IR58025A x CNT1, IR58025A x PTT1, IR58025A x RD47 and

IR58025A x LDP. The restoration of Male Sterility of CNT1 and RD47 were controlled by PPR9 and Rf3

with duplicated dominant epistasis interaction. The restoration of male sterility of PTT1 was controlled by

Rf4 locus which are PPR9 and PPR10 genes. The PPR9 gene was main gene while PPR10 gene was modified

gene. The analysis of F2 population (IR58025A x LDP) showed that there was other restorer gene might play

a role in LDP variety. However, PPR9 gene and Rf3 could restore male sterility of LDP. This grouping

information and the interaction between male sterility restorer genes could be further used in the development

of other Thai rice varieties.

Keyword : Wild Abortive Cytoplasmic Male Sterility (WA-CMS), Thai Rice varieties, Pollen fertility, Male sterility restorer genes, Molecular markers
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทุเรียน ทาเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
35 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.แสงทอง พงษ์เจริญกิต
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
35 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ แสงทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
342,650.00
   รวมจำนวนเงิน : 342,650.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
20 มิถุนายน 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023