การสกัดสารออกฤทธิ์ทางยาและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับผู้สูงอายุจากเห็ดถั่งเช่าสีทอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-007.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การสกัดสารออกฤทธิ์ทางยาและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับผู้สูงอายุจากเห็ดถั่งเช่าสีทอง
บทคัดย่อ :

เห็ดถั่งเช่าสีทอง (Cordyceps militaris) เป็นเห็ดทางการแพทย์ชนิดหนึ่ง ช่วยในการทาให้ร่างกายแข็งแรงและมีอายุยืนยาว ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงได้ในห้องปฏิบัติการ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษาผลของแสงที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงจานวน 6 สภาวะดังนี้ T1 = แสงสีขาว (หลอดยาว) T2 = แสงสีขาว (หลอดกลม) T3 = แสงสีน้าเงิน T4 = แสงสีชมพู T5 = แสงสีแดง และ T6 = แสงสีผสม ต่อการสร้างคอร์ไดเซปินและอะดีโนซีนของเห็ดถั่งเช่าสีทอง ผลการวิจัยพบว่าเห็ดถั่งเช่าสีทองตัวอย่าง T2 ที่เพาะเลี้ยงภายใต้แสงสีขาว (หลอดกลม) มีปริมาณคอร์ไดเซปินและอะดีโนซีนมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 711.81?14.95 และ 41.79?6.99 มิลลิกรัม/100 กรัม ตามลาดับ หลังจากนั้นได้นาเห็ดถั่งเช่าสีทองตัวอย่าง T2 ไปสกัดพอลิแซคคาไรด์ด้วยน้าร้อนที่ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที ได้สารสกัดหยาบพอลิแซคคาไรด์ที่ได้ 4 ตัวอย่าง ได้แก่ ตัวอย่างที่ 1 เป็นตัวอย่างที่ได้จากเห็ดถั่งเช่าสีทองที่ไม่ผ่านการสกัดไขมันออกและไม่ใช้อัลตราซาวด์ช่วยในการสกัด ตัวอย่างที่ 2 เป็นตัวอย่างที่ได้จากเห็ดถั่งเช่าสีทองที่ไม่ผ่านการสกัดไขมันออกและใช้อัลตราซาวด์ช่วยในการสกัด ตัวอย่างที่ 3 เป็นตัวอย่างที่ได้จากเห็ดถั่งเช่าสีทองที่ผ่านการสกัดไขมันออกและไม่ใช้อัลตราซาวด์ช่วยในการสกัด และตัวอย่างที่ 4 เป็นตัวอย่างที่ได้จากเห็ดถั่งเช่าสีทองที่ผ่านการสกัดไขมันออกและใช้อัลตราซาวด์ช่วยในการสกัด พบว่าตัวอย่างทั้ง 4 ตัวอย่างมีร้อยละของผลผลิตที่ได้ไม่แตกต่างกัน

(p > 0.05) โดยมีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 41.02 – 41.79 ส่วนความสามารถในการต้านออกซิเดชัน ได้แก่ DPPH radical scavenging assay, improved ABTS radical cation decolorization assay, superoxide radical scavenging assay, hydroxyl radical scavenging assay, การวัดกิจกรรมการจับกับอิออนของเฟอรัสและค่าความสามารถในการรีดิวซ์ พบว่ามีความแตกต่างกัน (p < 0.05) โดยพบว่าการนาเห็ดถั่งเช่าสีทองมาทาการสกัดไขมันออกก่อนสกัดและการใช้อัลตราซาวน์ช่วยในระหว่างการสกัดสามารถทาให้สารสกัดหยาบพอลิแซคคาไรด์ที่ได้มีสมบัติในการต้านออกซิเดชันที่ดีขึ้น งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแรกที่แสดงให้เห็นว่าการสกัดไขมันร่วมกับการใช้อัลตราซาวด์เป็นวิธีที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการต้านออกซิเดชันของสารสกัดได้

คำสำคัญ : สารออกฤทธิ์ทางยา เห็ดถั่งเช่าสีทอง อัลตราซาวด์ พอลิแซคคาไรด์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Bioactive ingredients extraction and food product development for elderly from Cordyceps militaris
Abstract :

Cordyceps militaris is a medical mushroom and exerts body health and longevity. It can be cultivated in laboratory under suitable condition now. This research investigated the effect of 6 light types including T1 = white light (long bulb), T2 = white light (round bulb), T3 = blue light, T4 = pink light, T5 = red light and T6 = mixed colour light on cordycepin and adenosine production of

C. militaris mushroom. It was found that the T2 [white light (round bulb)] cultured C. militaris mushroom sample had the highest cordycepin and adenosine contents with the values of 711.81 ? 14.95 and 41.79 ? 6.99 mg/100 g, respectively. Subsequently, the T2 cultured C. militaris mushroom sample was extracted with hot water for 60 min at the temperature of 60 ?C to gain crude extracts of polysaccharides. The four samples of crude polysaccharide extracts were obtained as follows: - sample 1 was not defatted and not ultrasonicated, sample 2 was not defatted and ultrasonicated, sample 3 was defatted and not ultrasonicated, and sample 4 was defatted and ultrasonicated. It was found that the %yield of the 4 crude extracts samples was not significantly different (p > 0.05), which were in the ranges of 41.02 - 41.79%. The antioxidant properties including DPPH radical scavenging assay, improved ABTS radical cation decolorization assay, superoxide radical scavenging assay,hydroxyl radical scavenging assay, ferrous chelating and ferric reducing power were found to be different (p < 0.05). It was found that the C. militaris mushroom crude polysaccharide extracts from defatted and ultrasonicated preparation had the better antioxidant properties antioxidant properties compared with those without defatted and sonicated preparation. This research is the first revealed that the defatting of raw material in combination with ultrasonication could improve antioxidant capacity of the extracts.

Keyword : bioactive ingredients, Cordyceps militaris, ultrasound, polysaccharides
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา แดงปรก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล ถิรบุญยานนท์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
437,300.00
   รวมจำนวนเงิน : 437,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
12 พฤษภาคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : ประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 7
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023