การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-004.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ
บทคัดย่อ :

ข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีดามีการสะสมของแอนโทไซยานินสูง ยีน OsB1 และยีน OsC1 เป็นยีน

สาคัญที่ควบคุมการสังเคราะห์แอนโทไซยานินในข้าว และยีน OsDFR เป็นยีนโครงสร้างที่มีรหัส

สาหรับเอนไซม์ที่สาคัญในวิถีการสังเคราะห์แอนโทไซยานิน งานวิจัยนี้ได้ศึกษาเครื่องหมายดีเอ็นเอ

ที่จาเพาะกับยีน OsB1, OsC1 และ OsDFR เพื่อใช้คัดเลือกข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีดา และตรวจสอบ

ลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) ที่ได้จากการผสมระหว่างข้าวขาวเป็นพันธุ์รับและข้าวดาเป็นพันธุ์ให้ การ

วิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน OsB1 บริเวณเอกซอนที่ 7 พบว่า ข้าวขาวเกิด 2-bp deletion จึง

นามาศึกษาเครื่องหมายดีเอ็นเอชนิด CAPS (Cleaved amplified polymorphic sequences) พบว่า

สามารถแยกข้าวขาวและข้าวดา และตรวจสอบลูกผสม F1 ได้ การวิเคราะห์ลา ดับนิวคลีโอไทด์ของยีน

OsDFR บริเวณโปรโมเตอร์ที่ตาแหน่ง -450 พบว่า ข้าวขาวเกิด 11-bp insertion จึงนามาศึกษา

เครื่องหมายชนิด Indel พบว่า สามารถแยกข้าวขาวและข้าวดา และตรวจสอบลูกผสม F1 ได้ การ

วิเคราะห์ลาดับเบสของยีน OsC1 บริเวณเอกซอนที่ 3 พบว่า ข้าวขาวและข้าวแดงเกิด 10-bp deletion

จึงนามาศึกษาเครื่องหมายชนิด Indel พบว่า สามารถแยกข้าวขาวและข้าวแดงออกจากข้าวดา และ

ตรวจสอบลูกผสม F1 ได้ เมื่อวิเคราะห์ปริมาณแอนโทไซยานินและฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ พบว่า ข้าว

ดา มีปริมาณแอนโทไซยานินสูงกว่าข้าวขาวและข้าวแดง แต่ข้าวแดงมีฤทธ์ิการต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด รองลงมา คือ ข้าวดา และข้าวขาว เครื่องหมายดีเอ็นเอที่ได้จากงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ

ช่วยคัดเลือกข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีดา ตั้งแต่ระยะแรกของการเจริญเติบโต ทา ให้การคัดเลือกทา ได้

อย่างแม่ยา และย่นระยะเวลาในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวไทยให้มีปริมาณแอนโทไซยานินและฤทธ์ิต้าน

อนุมูลอิสระสูงขึ้น

คำสำคัญ : ข้าว แอนโทไซยานิน เครื่องหมายดีเอ็นเอ , ยีนควบคุม , ยีนโครงสร้าง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Improvement of rice varieties to increase anthocyanins by molecular marker-assisted selection for increased nutritional values
Abstract :

Black rice has high accumulation of anthocyanins on pericarp tissues. OsB1 and OsC1

genes are important for the controls of anthocyanin biosynthesis in rice. OsDFR gene is structural

gene that encodes the vital enzyme in anthocyanin biosynthesis pathway. In this study, DNA

makers specific to OsB1, OsC1 and OsDFR were investigated to select rice with black pericarp and

identify F1 hybrid of the cross between white pericarp rice as a receptor and black pericarp rice as a

donor. Sequence analysis of OsB1 gene at exon 7 showed 2-bp insertion in white rice. CAPS

(Cleaved amplified polymorphic sequences) maker of OsB1 was tested. The results showed that

CAPS marker could be used to distinguish between white and black rice and to detect F1 hybrid.

Analysis of nucleotide sequences of OsDFR at -450 promoter region revealed 11-bp insertion in

white rice. Indel marker was developed and the results showed that the Indel marker could select

black rice from white rice and identify F1 hybrid. In addition, sequence analysis of OsC1 showed

that white rice had 10-bp deletion in exon 3. Indel marker of OsC1 was studied. It was found that

the Indel marker could discriminate black rice form red and white rice and also select F1 hybrid.

Analysis of anthocyanin contents and antioxidant activity of rice seeds revealed that black rice had

higher anthocyanins than white and red rice. However, red rice had the highest antioxidant activity,

followed by black rice and white rice, respectively. Therefore, gene-specific markers in this study

will be beneficial for selection of black rice in the early stage of development which will facilitate

selection and shorten the time in breeding Thai rice for high anthocyanins and antioxidant activity.

Keyword : rice, anthocyanins, DNA markers, regulatory genes, structural gene
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.นฤมล เข็มกลัดเงิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 ดร.สมจริง รุ่งแจ้ง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทุเรียน ทาเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
746,937.00
   รวมจำนวนเงิน : 746,937.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 มกราคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
20 มิถุนายน 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023