ความเต็มใจยอมรับค่าชดเชยของเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการเกษตร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-116
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ความเต็มใจยอมรับค่าชดเชยของเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการเกษตร
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติต่อการใช้สารเคมีเกษตรในเรื่องผลกระทบทางด้าน

สุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตรและเพื่อประเมินมูลค่าความเต็มใจยอมรับการชดเชยของเกษตรกรผู้

ปลูกข้าวโดยใช้สารเคมีเกษตร ด้วยวิธีการทดลองทางเลือก (choice experiment)โดยการสัมภาษณ์จาก

เกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกข้าวในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 ตัวอย่าง

ผลการศึกษาด้านทัศนคติของเกษตรกรในการใช้สารเคมีเกษตรในเรื่องผลกระทบทางด้าน

สุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตร พบว่าเกษตรกรตัวอย่างมีระดับทัศนคติในการใช้สารเคมีเกษตรใน

ระดับสูง ด้านปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคมที่มีผลต่อความเต็มใจยอมรับค่าชดเชย ประกอบด้วย อายุ

การศึกษา ประสบการณ์ จำนวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพื้นที่ปลูกข้าว ต้นทุนค่าปุ๋ยเคมี รายได้

ทัศนคติต่อการใช้ปุ๋ยเคมี และทัศนคติต่อการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช หากเมื่อพิจารณาถึงความเต็มใจ

ยอมรับค่าชดเชย (WTA) พบว่า เมื่อเกษตรกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการลดใช้ปุ๋ยเคมีลง 25% และใช้

ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มขึ้น 75% ภาครัฐจ่ายเงินชดเชยให้แก่เกษตรกรเพียง 1,250 บาทต่อไร่ หากเกษตรกรใช้

สารเคมีปราบศัตรูพืชลดลง 25% ใช้สารอินทรีย์ปราบศัตรูพืชเพิ่มขึ้น 75% ภาครัฐจ่ายเงินชดเชยให้แก่

เกษตรกรเพียง 1,416.67 บาทต่อไร่

คำสำคัญ : ข้าว , ความเต็มใจยอมรับค่าชดเชย , สารเคมีเกษตร , อำเภอเชียงดาว จังหวัดชียงใหม่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Willingness to Accept of Agro-Chemicals Used Farmers
Abstract :

This research objectives are (1) to study rice farmers’ attitudes of agro-chemicals used, and (2) to study

the factors that influence the willingness to accept (WTA) by applying the Choice Experiment. The research

conducted 400 samples from the agro-chemicals used rice farmers in Chiang Dao District, Chiang Mai Province.

The result found that rice farmers ‘attitudes are at high level in use of agro-chemicals in farms. The

factors that influent to WTA are age, education level, farm experience, number of household labors, farm size,

chemical fertilizer cost, income, agro-chemicals used attitudes and agro-chemical herbicides used attitudes. In

case of WTA, the results found that government pays only 1,250 Baht/rai if farmers reduce 25% used of

chemical fertilizers and increase 75% of organic fertilizers as well government pays only 1,416.67 Baht/rai if

farmers reduce 75% used of chemical herbicides and increase 25% of organic herbicides

Keyword : Rice, Willingness to Accept, Agro-Chemicals, Chiang Dao District Chiang Mai Province
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ นันทะเสน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เก นันทะเสน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
246,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 246,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
5 มกราคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 
ฉบับที่ : ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023