การใช้สารสกัดฟีโนลิค (phenolic) จากเมล็ดลำไยเสริมในสูตรของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรเพื่อทดแทนสารเสริมสังเคราะห์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-093
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การใช้สารสกัดฟีโนลิค (phenolic) จากเมล็ดลำไยเสริมในสูตรของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรเพื่อทดแทนสารเสริมสังเคราะห์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
บทคัดย่อ :

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการใช้สารสกัดฟีโนลิคจากเมล็ดลาไยเพื่อใช้ทดแทนสารเคมีสังเคราะห์ในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรต่ออายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพ โดยใช้สารกัดทดแทนที่สารสังเคราะห์ในอัตราส่วนต่าง ๆ ได้แก่ 0:100, 20:80, 40:60, 60:40, 80:20 and 100:0 ตามลาดับ ผลการทดลองพบว่าการใช้สารสกัดจากเมล็ดลาไยสามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพของไส้กรอกโดยช่วยรักษาความเป็นกรด – ด่างของผลิตภัณฑ์และยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาอ๊อกซิเดชัน แต่อย่างไรก็ตามการใช้สารสกัดจากเมล็ดลาไยในระดับที่สูงขึ้นส่งผลต่อลักษณะการแสดงออกของสีที่ไม่พึงประสงค์และความสามารถในการอุ้มน้าของผลิตภัณฑ์ที่ลดลง จากผลการทดลองครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การทดแทนสารเคมีสังเคราะห์ในสูตรของผลิตภัณฑ์ไม่ควรเกินร้อยละ 20 ซึ่งยังทาให้ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกยังมีคุณภาพที่เหมาะสม

คำสำคัญ : สารประกอบฟีโนลิค เมล็ดลาไย อายุการเก็บรักษาและคุณภาพของไส้กรอก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Use of Phenolic compound Extract from Longan Seed Supplement in Pork Sausages for Synthesis Additive Replacement on shelf life and Sausages Quality
Abstract :

This study was conducted to assess the effect of phenolic compound extract from longan seed supplement in pork sausages for synthesis additive replacement on shelf life and sausages quality. The phenolic extraction was applied in pork sausages with 6 ratios to replacement chemical reagent 0:100, 20:80, 40:60, 60:40, 80:20 and 100:0 (v/w) respectively. The results shown that phenolic extraction could be maintained pH value and reduce lipid oxidation reaction in term of TBARS of the pork sausages. However, increasing level of phenolic extraction to the product had the resulted to poor color appearance and also lower water holding capacity. Base on this study, itcould be concluded that replacement chemical reagent with phenolic extraction within 20% showed the advantage result than other concentration.

Keyword : Phenolic compound, Longan seed extract, Shelf life and Sausages quality
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฬากร ปานะถึก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติศิริ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร ธาราฉาย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
123,300.00
   รวมจำนวนเงิน : 123,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023