ความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-121
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่
บทคัดย่อ :

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการของรัฐกับความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่ 4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงสวัสดิการของผู้สูงอายุ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลงานวิจัยกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 รายที่มีภูมิลาเนาในพื้นที่จังหวัดแพร่ แล้วทาการวิเคราะห์ผลโดยค่าสถิติ ผลการวิจัยพบว่าระดับความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุด้านความหมายและนโยบายอยู่ในระดับมาก ระดับความเข้าใจด้านการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อเปรียบเทียบระดับความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการ ตามปัจจัยคุณลักษณะ พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ มีผลต่อความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุในจังหวัดแพร่ในระดับที่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ ไม่มีผลต่อความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุ และการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการของรัฐมีความสัมพันธ์กับความเข้าใจต่อรัฐสวัสดิการของผู้สูงอายุ ทั้งนี้กาหนดความเชื่อมั่นไว้ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05

คำสำคัญ : ความเข้าใจ , รัฐสวัสดิการ , ผู้สูงอายุ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Welfare State Understanding of the Elderly in Phrae Province
Abstract :

This research aimed to study 1) level of Welfare State Understanding of the Elderly in Phrae Province 2) the compare the difference of Welfare State Understanding of the Elderly in Phrae Province according to related factors 3) the relation between perception information about government welfare management with level of Welfare State Understanding and 4) to study problems and obstacles in accessing the welfare of the elderly. It was the quantitative research and used questionnaires to collect data from 400 cases in Phrae Porvince. And has analyzed by statistics the research result found that level of Welfare State Understanding of the Elderly about the definition and policy was high level and level of Welfare State Understanding of the Elderly about welfare management for the elderly was moderate level. When comparing between the different demographic factors such as age was different level of Welfare State Understanding accorded to the hypothesis, but the different demographic factor as gender, status, education, occupation, income were not effected to level Welfare State Understanding. And found that problems and obstacles in accessing the welfare of the elderly is the elderly do not have Welfare State Understanding. Besides, perception information about government welfare management related to Welfare State Understanding of the Elderly by significant at 05.

Keyword : Understanding, Welfare State, The elderly
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.ปัญจพร คำโย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
90 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ คำตัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
135,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 135,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023