ประสิทธิภาพการเข้าถึงของโครงข่ายคมนาคมขนส่งกับการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริบทผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ เพื่อการเติบโตเชิงพื้นที่อย่างชาญฉลาดและยั่งยืน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-59-049/60-057
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 กันยายน 2559 ถึง 1 ตุลาคม 2560
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ประสิทธิภาพการเข้าถึงของโครงข่ายคมนาคมขนส่งกับการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริบทผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ เพื่อการเติบโตเชิงพื้นที่อย่างชาญฉลาดและยั่งยืน
บทคัดย่อ :

การวิจัยนี??มีวัตถุประสงค์เพื??อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการเข้าถึงของโครงข่ายคมนาคมขนส่งกับการ

ใช้ประโยชน์ที??ดินในบริบทผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่และพื??นที??เมืองปัจจุบัน โดยชุดทฤษฎีและเทคนิค

Space Syntax ร่วมกับระบบภูมิสารสนเทศ การสำรวจพื??นที?? และการวิเคราะห์เอกสาร ผลวิจัยพบว่าพื??นที??

เขตผังเมืองรวมเมืองที??เพิ??มขึ??นจาก 106.0 ตารางกิโลเมตร ในปี พ.ศ.2527 เป็น 429.0 ตารางกิโลเมตร ในปี

พ.ศ.2532 จนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้โครงสร้างระบบคมนาคมขนส่งมีการเปลี??ยนแปลงศูนย์กลางความเจริญ

ขยายออกสู่พื??นที??เมืองโดยรอบ ในรูปแบบถนนวงแหวนและถนนรัศมีจากศูนย์กลางร่วมกับรูปแบบการใช้

ประโยชน์ที??ดินจากศูนย์กลางเมืองประเภทพาณิชยกรรมและพักอาศัยหนาแน่นมาก ล้อมรอบด้วยที??อยู่

อาศัยหนาแน่นปานกลาง ที??อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แทรกสลับกับพื??นที??ชนบทและเกษตรกรรม การ

เปลี??ยนแปลงโครงสร้างเชิงสัณฐานโครงข่ายคมนาคมขนส่งมีค่าประสิทธิภาพการเข้าถึงที??วัดได้จาก

แบบจำลอง Space Syntax มีค่าเฉลี??ย 0.279821, 0.205415, 0.203256 และ 0.214098 ตามลำดับ โครงสร้าง

เชิงสัณฐานศูนย์กลางเมืองระยะแรก พ.ศ.2527 ปรากฏบริเวณใจกลางเมืองเชียงใหม่ ต่อมา พ.ศ.2532

ขยายตัวลงมาทางทิศใต้ และพ.ศ.2542 ถึงปัจจุบัน ขยายตัวไปทางทิศตะวันออกตามแนวทางหลวงแผ่นดิน

หมายเลข 1 ตลอดจนจุดตัดแนวถนนวงแหวนและแนวถนนรัศมีจากศูนย์กลางเมืองด้วยค่าประสิทธิภาพ

การเข้าถึงที??ดีกว่า แนวโน้มการขยายตัวดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญต่อการควบคุมการใช้ประโยชน์ที??ดินใน

อนาคต การใช้กฎหมาย การจัดทำแผนโครงสร้างสีเขียว และการสร้างแนวปฏิบัติที??ดีเพื??อรักษาพื??นที??

เกษตรกรรมชานเมือง

คำสำคัญ : ประสิทธิภาพการเข้าถึง , การใช้ประโยชน์ที่ดิน , สัณฐานพื้นที่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Accessibility Efficiency of Transportation Network with Land Use in The Context of Chiang Mai Comprehensive Plan for Spatial Smart Growth and Sustainability
Abstract :

This research aimed to analysis the accessibility efficiency of the transport network and land use

in the context of Chiang Mai comprehensive plan and existing areas. A combination of theory and Space

Syntax technique with Geographic Information System were used for surveying and document analysis.

It was found that urban planning area increasing from 106.0 km2 in 1984 to 429.0 km2 in 1989 to the

present. Therefore, the transport infrastructure has changed from the center to other areas in Chiang Mai.

In terms of ring road system and patterns of land use in the center of Chiang Mai city, it was found that

space in urban areas was used for commerce and residence densely. On the other hand, space in agriculture

and rural areas were used for residence in average level to low level. The efficiency accessibility of

transport network as measured by Space Syntax models was at average of 0.279821, 0.205415, 0.203256,

and 0.214098 respectively. Also, structural morphology appeared in the center area in 1984. Then, it was

expanded to the south of Chiang Mai in 1989 and to the east along Highway no. 1 and ring road and radial

road in 1999 to the present. The trend of expansion is an important factor for land use control in the future

with law and regulation control, plan for green infrastructure and best practice for preserve the area of

rural and agriculture.

Keyword : Accessibility Efficiency, Transportation Network, Land Use, Spatial Configuration
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา สัมมานิธิ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยหลัก
(2560)
80 ไม่ระบุ
2 อาจารย์สิริวัฒก์ สัมมานิธิ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2560
1/10/2559 ถึง 30/9/2560
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
209,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 209,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
8 ธันวาคม 2560
วารสารที่ตีพิมพ์ : การตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : Proceedings
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.2
1 ธันวาคม 2560
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง 
ฉบับที่ : ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (2560)
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : Faculty of Architecture and Planning Thammasat University
0.8
28 สิงหาคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย 
ฉบับที่ : 20 No. Special Issue: August 2019 pp.23-40.
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : สมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย
0.6
1 มกราคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
ฉบับที่ : 30
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023