ระบบปรับสภาพอากาศในโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-092
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 พฤศจิกายน 2559 ถึง 1 ตุลาคม 2560
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ระบบปรับสภาพอากาศในโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง
บทคัดย่อ :

ระบบติดตามสภาพอากาศในโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง เป็นโครงการที่จัดทำขึ้น เพราะเกษตรกรประสบปัญหาการเสียชีวิตจากการขาดอากาศหายใจภายในการเพาะเห็ดฟาง ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลกระทบจากข่าวพบว่ามีก๊าซ 2 ปรเภทคือ คาร์บอนไดออกไซด์ (Co2)และคาร์บอนมอนอกไซด์ (Co)

โครงงานนี้มีการพัฒนาระบบซึ่งประกอบด้วยบอร์ด Node MCU ที่มีเซ็นเซอร์ในด้านการรับค่าคาร์บอนมอนอกไซด์(MQ-9) และเซ็นเซอร์คาร์บอนไดออกไซด์(MH-Z14A) ซึ่งติดตั้งภายในโรงเรื่อนทั้งหมดจำนวน 10 ตัว เพื่อวัดค่าของคาร์บอนไดออกไซด์และค่าคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยมีบอร์ด Raspberry pi จำนวน 2 ตัวเพื่อทำหน้าที่เป็นฟิวด์เซิร์ฟเวอร์ และทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมอากาศภายในโรงเรือน

การติดต่อระบบสื่อสารภายในโรงเรือน ระบบใช้เราเตอร์ไร้สาย (Wi-Fi router) เพื่อสร้างเครือข่ายไร้สายในการเชื่อมต่อ ระหว่างบอร์ด Raspberry pi และบอร์ด MCU ซึ่งเก็บข้อมูลเซ็นเซอร์คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยใช้โปรโตคอล MQTT และจัดส่งข้อมูลระหว่างโรงเรือนเพาะเห็ดฟางเพื่อจัดเก็บในฐานข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยผ่าน 3G เราเตอร์แบบไร้สาย (3G Wi-Fi router) ผ่านระบบการเชื่อมต่อของอินเทอร์เน็ต

การแจ้งเตือนและการระบายอากาศของระบบจะพิจารณาจากค่าของคาร์บอนทั้ง 2 ชนิดโดยจะพิจารณาจากค่าของเซนเซอร์ทั้ง 5 ตัวโดยมีเงื่อนไขการแจ้งเตือนและการระบายอากาศ if (Co2 >=300 & Co <50) || (Co2 <300 & Co >=50) || (Co2 >=300 & Co >=50) then turn on(red light) & turn on (fan) else if (Co2 <1000 & Co <500) then turn on(green light) & turn off (fan)

คำสำคัญ : เห็ดฟาง micro-climate สถานีอากาศ MQTT Co2 Co
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Straw Mushroom House Air Condition Control System
Abstract :

Straw Mushroom Monitoring and Air Flow Control System has developed because of news which showed that family’s farmers which consist of parent and their children when lack of respiration within the mushroom greenhouse. The cause of group dead may dare from Carbon Dioxide (Co2) or Carbon Monoxide (Co).

This project has developed by using a Node MCU board with Carbon Monoxide (MQ-9) sensor and Carbon Dioxide (MH-Z14A) to measure level of Carbon Monoxide and Carbon Dioxide values and using two Raspberry pi boards to be a field server and an air flow controller.

The network communication inside greenhouse has been using Wi-Fi router to be an access point for service over Wi-Fi network to communicate and send data between Raspberry pi boards and sensors box through Message Queuing Telemetry Transport (MQTT). The network communication between the mushroom greenhouse and Maejo University server has been using 3G router to connect the Internet for sending a carbon dioxide and a carbon monoxide data to database server which install on Maejo University server.

Warning and airflow control depend on Co2 and Co values which has conditions to alert and turn on the red light signal on control box which has set up in front of a greenhouse for warning farmers to protect when lack of respiration within the mushroom greenhouse while they want to enter a greenhouse and turn on 4 fans which have installed on behind and in front of the wall of greenhouse for controlling the air condition inside the greenhouse at the same time until normal level of air condition.

Keyword : Control System, Greenhouse, Semi-Automation, Mushroom
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.สมนึก สินธุปวน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2560)
40 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วิรุญรัตน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2560
1/10/2559 ถึง 30/9/2560
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมารแผ่นดินแม่โจ้
315,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 315,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 มกราคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023