การศึกษาความเป็นไปได้และการออกแบบระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-070
รหัสอ้างอิง วช. : 375923
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 กันยายน 2559 ถึง 1 ตุลาคม 2560
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาความเป็นไปได้และการออกแบบระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ :

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระเบียบวิธีการศึกษาในครั้งนี้ประกอบไปด้วย (1) การรวบรวมหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบการขนส่งแบบไร้เครื่องยนต์ (2) การสารวจและรวบรวมข้อมูลของความต้องการและข้อมูลการจราจรในพื้นที่ศึกษา (3) การวิเคราะห์สภาพการจราจรในปัจจุบันและความต้องการของผู้เดินทางภายในพื้นที่ศึกษา (4) การคาดคะเนสถานการณ์การเดินทางที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และ (5) การวิเคราะห์และเสนอระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมภายในพื้นที่ศึกษา จากการศึกษา พบว่า ระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสมกับพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้วิทยาเขตหลักควรเป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดเล็ก เช่น รถไฟฟ้าขนาด 12-24 ที่นั่ง โดยมีเส้นทางการให้บริการทั้งหมด 2 เส้นทางประกอบไปด้วยเส้นทางสายหลักทาหน้าที่เชื่อมต่อจุดสาคัญภายในมหาวิทยาลัยในแนวแกนหลัก และเส้นทางสายรองเชื่อมต่อพื้นที่ย่อยต่างๆ แบบวนเป็นวงรอบปิด ตลอดจนความสาเร็จของระบบขนส่งมวลชนภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ต้องมีองค์ประกอบด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อสนับสนุนการให้บริการด้วย ได้แก่ สถานีรับ-ส่งผู้โดยสาร จุดจอดยานพาหนะส่วนบุคคล และโครงข่ายการเดินและจักรยานที่ได้มาตรฐานและมีความปลอดภัย

คำสำคัญ : ระบบขนส่งมวลชน , แบบจำลองการขนส่ง , การวางแผนการขนส่ง , มหาวิทยาลัยสีเขียว การออกแบบและพัฒนาอย่างยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Feasibility Studyand Design of AppropriatedTransit Systemfor Green University Achievement inMaejoUniversity
Abstract :

This study aimed to investigate the feasibility of the appropriated public transportation system developing in the main campus area of Maejo university. The methodology of this study comprising (1) principles and theories review about NMT development, (2) traffic data surveying and transportation data collecting in the study area, (3) analysis of the present traffic situations and travel demand of the travelers in the study area, (4) estimating future traffic and transportation in the study area, and (5) present the proposed public transportation system that can be applied with in the study area. The study found that the appropriated public transportation system for Maejo university should be a small transit system such as 12-24 seats electric vehicle in 2 operating routes comprising the main route operating in the main street to connect the major activity area, and the feeder route operating in the minor street with loop networking to connect the sub-activity area. In addition, the success of Maejo University public transportation system requires more infrastructure and facilities to achieve the public transportation services, including the passenger terminal or station, parking lot or parking building, and standard and safely pedestrian way and bicycle lane.

Keyword : Transit System, Transportation Model, Transportation Planning, Green University, Sustainable Design and Development
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์ ปุระพรหม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยหลัก
(2560)
70 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ระวี กองบุญเทียม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2560
1/10/2559 ถึง 30/9/2560
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
เงินงบประมาณแผ่นดิน ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2560 (4033)
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 กรกฎาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
ฉบับที่ : 4
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023