การใช้อัลตราโซนิกช่วยสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากกระเทียมเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia Coli

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-59-058
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การใช้อัลตราโซนิกช่วยสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากกระเทียมเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia Coli
บทคัดย่อ :

กระเทียมเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่มีสารสาคัญที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการเจริญของเชื้อแบคทีเรียเช่น สารฟีนอลิกและสารอัลลิซิน โดยจากงานวิจัยที่ผ่านมาได้มีการศึกษาการสกัดสารนี้ด้วยวิธีดั้งเดิมคือการละลายในตัวทาละลาย ซึ่งพบว่าปริมาณสารสกัดที่ได้จากวิธีการดั้งเดิมนี้มีปริมาณน้อยและใช้เวลาในการสกัดนาน จึงอาจส่งผลต่อการสลายตัวของสาระสาคัญได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงทาการศึกษาการใช้อัลตราโซนิกในการสกัดสารฟีนอลิกและสารอัลลิซินจากกระเทียมเพื่อช่วยยับยังการเจริญของเชื้อ Escherichia coli โดยใช้แอมพลิจูดที่ 30% 60% และ 90% ที่เวลาการสกัดต่างๆ โดยผลการศึกษาพบว่า การใช้คลื่นอัลตราโซนิกช่วยสกัดสารฟีนอลิกและสารอัลลิซินทาให้ได้ปริมาณมากกว่าการสกัดแบบดั้งเดิมประมาณ 2 เท่าและช่วยลดระยะเวลาที่ใช้สกัด โดยสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการสกัดคือ การสกัดที่แอมพลิจูด 60% เวลาการสกัด 40 นาที เมื่อพิจารณาจากค่าปริมาณฟีนอลิกรวมสูงสุดเท่ากับ 351.48 ? 45.11 mg gallic equivalence/g ของสารสกัดและปริมาณอัลลิซินสูงสุดเท่ากับ 63.16 ? 5.09 mg/100 ml และมีค่าเฉลี่ยการยับยั้งของสารสกัดเชื้อ Escherichia coli ไม่แตกต่างกับสารกันเสียเคมี (โซเดียมเบนโซเอต) ที่ความเข้มข้น 0.1 W/V อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ

คาสาคัญ: กระเทียม การสกัด ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ อัลตราโซนิก อัลลิซิน

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Ultrasonic-assisted Extraction of Bioactive Compounds from Garlic for Growth Inhibition of Escherichia Coli
Abstract :

Garlic is an herb plant containing bioactive compounds such as phenolic compounds and allicin which possess antioxidant and antibacterial activities. Previous works reported that conventional extraction of these compounds by solvent extraction resulted in low level of yield and long extraction time that might cause degradation of the extracted compounds. Thus, this research aimed at studying ultrasonic-assisted extraction of phenolic compounds and allicin for growth inhibition of Escherichia coli at amplitude of 30% 60% and 90% for different extraction times. The results showed that yield of phenolic compounds and allicin using ultrasonic-assisted extraction was 2 times as high as that conventional extraction with shorter extraction time. Moreover, the condition of ultrasonic-assisted extraction at amplitude of 60% for 40 min was recommended for phenolic and allicin extraction with the highest yield of phenolic compounds and allicin about 351.48 ? 45.11 mg gallic acid/ml of extract and 63.16 ? 5.09 mg/ml. The results was also observed that average of inhibition zone using ultrasonic-assisted extraction did not significantly different when compared with 0.1% W/V chemical preservative (sodium benzoate).

Keywords: Antimicrobial, Allicin, Extraction, Garlic, Ultrasonic

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หยาดฝน ทนงการกิจ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2559)
70 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.พูนพัฒน์ พูนน้อย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2558
1/10/2557 ถึง 30/9/2558
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
272,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 272,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
11 กรกฎาคม 2561
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : Proceeding of the 10th International conference o
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
1 พฤษภาคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : Food and Applied Bioscience Journal 
ฉบับที่ : Food and Applied Bioscience Journal, 2019, 7(2): 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยยาลัยเชียงใหม่
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023