มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงและการพึ่งพาตนเอง กรณีศึกษา ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-59-036
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงและการพึ่งพาตนเอง กรณีศึกษา ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทชุมชน สภาพเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมและ ประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงเพื่อการบริโภคผักพื้นบ้านในชุมชนแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยพบว่า ด้านสังคมและวัฒนธรรมชุมชนแม่แฝกยังคงมีประเพณีหรือเทศกาลที่ยึดถือปฏิบัติประจำชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่นการแรกนาขวัญ,พิธีบวชป่า และมีการอนุรักษ์ป่าโดยชาวบ้าน เป็นต้น ในด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชาวบ้านมีการเก็บของป่า สมุนไพรทั้งเพื่อการบริโภคและจำหน่าย อีกทั้งมีผู้ที่ประสบกับปัญหาหมอกควันจากการเผา การศึกษาถึงการประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงเพื่อการบริโภคผักพื้นบ้านในชุมชนในปี พ.ศ. 2559 พบว่า มูลค่ารวมผักพื้นบ้านที่พบในพื้นที่ชุมชนตำบลแม่แฝก ในปี พ.ศ. 2559 มีมูลค่ารวมทั้งหมดเท่ากับ 15 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นผักที่บริโภคราก/หัว มูลค่า 2.971 ล้านบาท ผักที่บริโภคใบ/ยอดอ่อน/ก้าน/ลำต้น มูลค่า 3.333 ล้านบาท ผักที่บริโภคดอก มูลค่า 2.421 แสนบาท และผักที่บริโภคผล มูลค่า 8.556 ล้านบาท จากผลการศึกษาหากมีการส่งเสริมให้บริโภคผักพื้นบ้านในชุมชนมากขึ้น จะสามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้อย่างมาก

คำสำคัญ : : มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรง , การบริโภค , ผักพื้นบ้าน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Ethnobotanical Vegetables: Direct Use Value and Self- Sufficiency: A Case Study of Tambol Maefak, San Sai District, Chiang Mai Province
Abstract :

This research objectives are to (1) study the socio-economic, natural resources and environmental sectors, and (2) to study the consumptive direct use value of ethnobotanical vegetables of Maefak sub-district, San Sai district, Chiang Mai province. In term of socio-economic sector, there are many traditions/festivals in their community such as plowing ceremony, ordination ceremony for woods and community’s forest conservation. For natural resources and environmental sector, people collect products from forest for example herbs for consume and sale as well as there is a problem of smog pollution. The result of consumptive direct use value of ethnobotanical vegetables at Maefak sub-district in 2016 presents that the total value equals to 15 Million Baht baht including 2.971 Million Baht of roots/tubers vegetable consumption, 3.333 Million Baht of leaves/shoots/stalks/stems vegetable consumption, 2.421 thousand Baht of flowers vegetable consumption, and 8.556 Million Baht of fruits consumption. Therefore, to promote the consumptive of ethnobotanical vegetables in community can reduce the household spending.

Keyword : Direct Use Value, Consumption, Ethnobotanical Vegetables
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ นันทะเสน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2559)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เก นันทะเสน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวรัตน์ กุศล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2559
1/10/2558 ถึง 30/9/2559
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
248,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 248,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 มิถุนายน 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 
ฉบับที่ : Vol.8 No.2 (Apr-Jun 2019)
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023