แนวทางเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-58-063
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : แนวทางเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากิจกรรมการอนุรักษ์ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวของคนในชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณริมแม่น้าปิงได้แก่ ชุมชนบ้านหนองมะจับ อาเภอสันทราย บ้านท่ามะขาม อาเภอสารภี และบ้านท่าเดื่อ อาเภอเมืองเชียงใหม่ ผลที่ได้สามารถนาไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงนั้นส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมการปล่อยพันธุ์ปลาสัตว์น้าแม่น้าปิงในวันสาคัญ โดยมีคนในชุมชนเข้าร่วมในกิจกรรมดังกล่าว ด้านการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงของชุมชน พบว่าคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงในด้านการวางแผน การปฏิบัติ และการรับผลประโยชน์อยู่ในระดับปานกลาง ขณะที่ด้านการประเมินอยู่ในระดับต่า ปัญหาที่พบส่วนใหญ่เป็นเรื่องการลักลอบจับสัตว์น้าของคนต่างถิ่น และการจับกุมผู้ฝ่าฝืนกฎระเบียบ เจ้าหน้าที่ไม่เข้มงวดและขาดแคลนเจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้าเพื่อให้เกิดประโยชน์ คือ ควรปล่อยปลาที่มีขนาดใหญ่ขึ้น หรือจัดพื้นที่วางกระชังเพื่อกักขังพันธุ์ปลาที่ปล่อยระยะหนึ่งก่อนโดยให้อาหารเพิ่มเติม แล้วจึงปล่อยลงสู่แม่น้าเพื่อเพิ่มอัตราการรอดของปลา ด้านความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับการมีส่วนร่วมพบว่า ระดับการศึกษามีความ สัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงในระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ขณะที่ชุมชนแต่ละพื้นที่ในแต่ละอาเภอ เพศ สถานะทางสังคมและรายได้ครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ผลการประเมินความสามารถในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงในพื้นที่พบว่า การมีความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติและกลุ่มผู้มีหน้าที่ในการจัดการมาก และกลุ่มของผู้ถูกจัดการที่ไม่มีความหลากหลายและซับซ้อนมากนักจะเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้การอนุรักษ์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขณะที่คุณสมบัติที่เป็นอุปสรรคคือ การเปลี่ยนแปลงในด้านทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ในระดับค่อนข้างสูง และปฏิสัมพันธ์ด้านการเล็งเห็นคุณค่าและให้ความร่วมมือยังมีอยู่ไม่มากนัก ซึ่งถ้าส่งเสริมในด้านนี้ก็จะทาให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

คำสำคัญ : การจัดการประมง การมีส่วนร่วมของชุมชน , การอนุรักษ์ทรัพยากรประมง , ประเมินความสามารถในการอภิบาล , แม่น้าปิง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Approach to Community Participation on Fishery Resources Conservation in Chiang Mai.
Abstract :

The objectives of this study were to determine the pattern of activities, problems and obstacles in fishery resources conservation including the people’s participation of Ping river water-based communities in Chiangmai province namely; Ban Nongmajub, Sansai district, Ban Tamakham, Sarapee district and Ban Taduae, Mueang Chiangmai district. The results from this study can be used as the approaches to fishery resources conservation management efficiently. The result showed that to join to fish fry release into the river on the important days was the main activity on fishery resources conservation. The level of people’s participation in planning, practicing and obtaining the advantages on fishery resources conservation were in moderate level while the people‘s participation in evaluation was in low level. Illegal fishing of outsiders, lacking of officers and loosely law enforcement were the problems found in these areas. The suggestions about fishery resources conservation activities were releasing the larger size of fry or releasing and feeding them into floating cage in the river before releasing for higher survival rate. The statistic hypothesis testing showed that education was significantly correlated with the level of participation in fishery resources conservation (P<0.05). The sex, social status, household income and place of residence were significant correlated with the participation (P<0.01). The result of governability assessment also found that high level in natural system and socio-economic system to be governed were the factors that may contribute the success of fishery resources conservation. On the other hand, the factors that may obstruct were high level in dynamics of natural system and also low level in interaction among people in community and governing system especially in appreciation and collaboration.

Keyword : fishery management, people’s participation, fishery resources conservation governability assessment, Ping river
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์ เทียมเมือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2558)
70 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2558
1/10/2557 ถึง 30/9/2558
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
79,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 79,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
15 กรกฎาคม 2562
รูปแบบการนำเสนอ : การบรรยาย
ระดับการนำเสนอ : ระดับนานาชาติ
ชื่องานประชุม/กิจกรรม : The Universal Academic Cluster International Summer Conference in Hokkaido
สถานที่ : Hokkaido, Japan
หน่วยงานที่จัด : Sapporo, Hokkaido, Japan
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
24 กันยายน 2560
วารสารที่ตีพิมพ์ : การตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
23 มิถุนายน 2560
วารสารที่ตีพิมพ์ : การตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.2
15 กรกฎาคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023