การแปลงเพศปลาหมอไทยด้วยเอสโตรเจนชนิดธรรมชาติ(Premarin) ให้ได้เพศเมียล้วน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-54-025
รหัสอ้างอิง วช. : 2554A11102016
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2553 ถึง 30 กันยายน 2554
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การแปลงเพศปลาหมอไทยด้วยเอสโตรเจนชนิดธรรมชาติ(Premarin) ให้ได้เพศเมียล้วน
บทคัดย่อ :

การทดลองใช้ฮอร์โมน Organic Estrogen (Premarin) ในการแปลงเพศปลาหมอไทย โดยวิธีการ

ผสมฮอร์โมนในอาหารให้ลูกปลาหมอไทยกินที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน คือ 0 , 50 , 100 , 150 mg/

อาหาร 1 กิโลกรัม โดยใช้ลูกปลาหมอไทยอายุ 2 สัปดาห์ เลี้ยงเป็นเป็นเวลานาน 4 สัปดาห์ ผลการทดลอง

พบว่าชุดการทดลองที่ 4 ระดับความเข้มข้น150 mg/อาหาร 1 กิโลกรัม มีผลทำให้ลูกปลาเปลี่ยนเพศเป็น

เพศเมียได้เฉลี่ย 90 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราการรอดเฉลี่ย 72.67 เปอร์เซ็นต์ และปลาหมอไทยที่ถูกแปลงเพศ

เป็นเพศเมียโดยวิธีนี้มีความยาวเฉลี่ย 8.1 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเฉลี่ย 10.20 กรัม รองลงมา คือ กลุ่ม

ทดลองที่ 3 ที่ระดับความเข้มข้น 100 mg/อาหาร 1 กิโลกรัม และกลุ่มทดลองที่ 2 ที่ระดับความเข้มข้น 50

mg/อาหาร 1 กิโลกรัม มีผลทำให้ลูกปลาเปลี่ยนเพสเป็นเพศเมียได้เฉลี่ย 61.11 และ 60 เปอร์เซ็นต์ ตามลำ

ลับ มีอัตราการรอดเฉลี่ย 73.33 และ 78 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และปลาหมอไทยที่ถูกแปลงเพศเป็นเพศ

เมียโดยวิธีนี้มีความยาวเฉลี่ย 5.9 และ 4.6 เซนติเมตร ตามลำดับ และมีน้ำหนักเฉลี่ย 7.9 และ 6.8 กรัม

ตามลำดับ

คำสำคัญ : การแปลงเพศ , ปลาหมอไทย , ฮอร์โมน estrogen
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Induced Sex Reversal in Climbing Perch (Anabas testudineus) by Natural Hormone (Premarin).
Abstract :

This study used organic estrogen (Premarin) for sex reversal in Climbing Perch

(Anabas testudineus). Hormone mixed in the fish feed at different concentrations 0, 50,

100 and 150 mg/1 kg feed, respectively. Start with two-week of age of Climbing Perch

continues feeding for four weeks. The result showed that 150 mg/1 kg feed had sex

inverse 90 % to be female, 72.67% survival rate, average 8.1 cm of body length and

average weight 10.20 grams. While, 100 mg/1 kg feed and showed 50 mg/1 kg feed

showed sex inverse 61.11% and 60%, 73.33% and 78% survival rate, average 5.9 and 4.6

cm of body length and average 7.9 and 6.8 grams of body weight, respectively.

Keyword : estrogen, premarin
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.จอมสุดา ดวงวงษา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2554)
80 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2554
1/6/2554 ถึง 31/5/2555
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
151,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 151,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
12 มิถุนายน 2562
รูปแบบการนำเสนอ : โปสเตอร์
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
ชื่องานประชุม/กิจกรรม : การประชุมวิชาการสัตวศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 8
สถานที่ : โรงแรมดวงจิตต์ รีสอร์ท แอนด์ สปา
หน่วยงานที่จัด : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
12 มิถุนายน 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : ฉบับพิเศษ 2
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023