รูปแบบนวัตกรรมธุรกิจเพื่อสังคมสู่ความยั่งยืนในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.8-67.6
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 เมษายน 2566 ถึง 2 สิงหาคม 2567
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : รูปแบบนวัตกรรมธุรกิจเพื่อสังคมสู่ความยั่งยืนในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
บทคัดย่อ :

เกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer (YSF) ในปัจจุบันมีความมุ่งมั่นในการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมเพื่อนำกำไรที่เกิดขึ้นไปสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคม โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อทำให้สังคมดีขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความตั้งใจของเกษตรกรรุ่นใหม่ในการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม 2) ศึกษารูปแบบนวัตกรรมธุรกิจเพื่อสังคมของเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ดำเนินกิจการเพื่อสังคมใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) คือ เกษตรกรรุ่นใหม่ผู้มีประสบการณ์ในการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมเป็นเวลา 5 ปี โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 8 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอเชิงพรรณนาความ ผลการศึกษาพบว่า ความตั้งใจของผู้ประกอบการเพื่อสังคมเกิดจากความตั้งใจในการแก้ไขปัญหาสังคมควบคู่ไปกับการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมีการวางรูปแบบนวัตกรรมธุรกิจเพื่อสังคมโดยการนำเอาการแก้ปัญหาสังคมมาเป็นเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ผู้ประกอบการเพื่อสังคมยังนำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ในการดำเนินงาน มีการสร้างเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคมควบคู่กันจนเกิดกาพัฒนาสู่การสร้างรูปแบบนวัตกรรมธุรกิจเพื่อสังคมที่ยั่งยืน

คำสำคัญ : รูปแบบ; นวัตกรรม; ธุรกิจ; ความยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Social Business Model Innovation Towards Sustainability in the Upper Northern Region of Thailand
Abstract :

Young Smart Farmers (YSF) commit to being social entrepreneurs who serve the profit to empower the society. The crucial mission is to fortify their communities. The objectives of this research are 1) to study the intentions of young farmers to become social entrepreneurs and 2) to study social business innovative models for young farmers operating businesses in eight provinces in upper Northern. The qualitative method employed semi-structured interviews to interview the key informants, who are young farmers with experience in entrepreneurial activities for society over five years. A purposive sampling method was used to select eight sample groups. Data analysis conducted the content analysis and presented in a narrative process. The result shows that social entrepreneurs intend to solve social issues with their business operations. Solving social problems is a goal in business operations for establishing a social business innovation model; in addition, social entrepreneurs incorporate various technologies into their operations and establish networks to exchange knowledge and innovations to add economic and social value together, which affects the development towards creating Social Business Innovative Model for Sustainability.

Keyword : model; innovation; business; sustainable
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 สุธาวัลย์ สัจจสมบูรณ์
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2566)
70 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา ศรีนฤวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 อาจารย์ ดร.จักรพงษ์ สุขพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2566
1/4/2566 ถึง 30/6/2567
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 เมษายน 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ 
ฉบับที่ : 7(2)
หน้า : 121-137
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023