20993 : โครงการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ตามแนวทางพระราชดำริแบบบูรณาการในพื้นที่ บ้านแม่ตุงติง อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ สุภาพันธ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  - เจ้าหน้าที่และเกษตรกรในโครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ - สมาชิกมูลนิธิสานฝันสันติภาพ บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ - เกษตรกร บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรินทร์  สุภาพันธ์
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี  อินธนู
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.1 สอบถามความต้องการของชุมชนเป้าหมายเพื่อบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างจริงจังภายใต้การขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ของประเทศ ถือเป็นแนวทางหนึ่งของการดำเนินงานในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และหมุดหมายที่ 10 ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ระบุว่าไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำของเป้าหมายการเพิ่มมูลค่าจากเศรษฐกิจหมุนเวียน และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า และการสร้างสังคมคาร์บอนต่ำและยั่งยืนเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและมลพิษพร้อมยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการส่งเสริมให้เกิดการใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่ และส่งเสริมให้นำหลักการลดของเสียให้เหลือน้อยที่สุดมาใช้ในขั้นตอนการผลิตและบริการ ทำให้เกิดความเชื่อมโยงของกลไกสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตไปสู่การลดปริมาณการปล่อยคาร์บอน (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2564) จะเห็นว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมและการปล่อยปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งในระดับชาติและท้องถิ่นให้ความสำคัญซึ่งต้องการแนวทางการปฎิบัติสะท้อนผลลัพธ์อย่างชัดเจนด้วยการจัดการให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องตามแนวทางพระราชดำริ โดยเฉพาะของฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งต้องการให้ราษฎรมีการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้ระบบนิเวศไม่สูญเสียความสมดุลทางธรรมชาติ และเกิดความยั่งยืนในคุณภาพชีวิตอย่างแท้จริงด้วยการให้ชุมชมอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน นำมาสู่การสร้างงาน สร้างอาชีพ มีความรักษ์และหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการอนุรักษ์ส่งต่อไปยังรุ่นต่อรุ่น จึงได้กำหนดการส่งเสริมให้ราษฎรในพื้นที่โครงการฯ มีรายได้จากการทำการเกษตรอย่างหลากหลายตลอดทั้งปีจากการมีอ่างเก็บน้ำเพื่อเป็นแหล่งอาหารและสร้างรายได้แก่ราษฎรในพื้นที่ฟาร์มตัวอย่างฯ และประชาชนในพื้นที่ (เอกสารประวัติความเป็นมาฟาร์มตัวอย่างฯ, 2565) โครงการบริการวิชาการนี้มีความสอดคล้องกับการสนองงานโครงการพระราชดำริด้านโครงการพัฒนาแบบบูรณาการเกี่ยวกับการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ การเป็นศูนย์สาธิตและส่งเสริมการฝึกอบรมอาชีพ ได้แก่ งานศิลปาชีพ การทอผ้า การจักสาน การตีมีด การแกะสลักไม้ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการปลูกไม้โตเร็วไว้ใช้เพื่อป้องกันการตัดไม้ในป่า สะท้อนถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า สร้างความหวงแหนในผืนป่า และปลูกจิตสำนึกของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทำให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นระบบและไม่ก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและช่วยลดการปล่อยเรือนกระจก แนวทางหนึ่งของการจัดการ คือ การเพิ่มมูลค่าทรัพยากรทั้งจากธรรมชาติและวัสดุเหลือทิ้งในพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ไบโอชาร์ ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตหลักของการนำมาผลิตเป็นดินปลูกอินทรีย์ตามมาตรฐานรับรองของกรมวิชาการเกษตรเพื่อช่วยทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี เกิดการลดต้นทุนการผลิตแก่เกษตรกร ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตภายใต้การนำผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ วัสดุปลูก หรือผลผลิตทางการเกษตรจากการส่งเสริมให้เกิดการผลิตเป็นระบบเกษตรอินทรีย์มาจำหน่ายสร้างรายได้แก่ครัวเรือนเกษตรกร การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกองด้วยวิธีวิศวกรรมแม่โจ้ 1 เป็นงานวิจัยของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมระดับชาติในปี 2555 โดยการหมักปุ๋ยวิธีการนี้สามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพดีตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร โดยไม่ต้องพลิกกลับกอง (ธีระพงษ์ สว่างปัญญากูร, 2556) ประกอบกับใช้ความรู้ความสามารถและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำวัสดุเหลือทิ้งในพื้นที่เกษตรกรรมมาเพิ่มมูลค่า ซึ่งเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่เกษตรกรนิยมนำมาเป็นเครื่องมือจัดการวัสดุเหลือทิ้งฯ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีไม่ยุ่งยากซับซ้อน ต้นทุนต่ำ สามารถใช้วัตถุดิบในชุมชน และผลผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้สามารถนำไปใช้เองเพื่อลดต้นทุนหรือจำหน่ายสร้างรายได้ นอกจากนี้สามารถนำปุ๋ยอินทรีย์มาผสมกับไบโอชาร์โดยถูกผลิตจากวัสดุเหลือทิ้งฯ เช่น กิ่งไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ เป็นต้น มาผลิตเป็นดินปลูกอินทรีย์ตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตรเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรและสร้างทางเลือกการปลูกพืช จะเห็นว่าผลผลิตปุ๋ยและดินปลูกอินทรีย์สามารถนำไปใช้เองหรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ ประกอบกับการนำผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์เป็นปัจจัยการผลิตของการผลิตผลผลิตทางการเกษตรตามแนวทางเกษตรอินทรีย์เพื่อการขอรับรองมาตรฐานทำให้มีความสามารถแข่งขันในตลาดภายใต้องค์ความรู้ด้านการวางแผนทางการเงินให้เกิดการวางแผนและการตัดสินใจดำเนินการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และการวางแผนทางการตลาดด้วยโมเดลธุรกิจแคนวาส (Business Model Canvas: BMC) สะท้อนภาพรวมของการดำเนินกิจการด้วยการปรับจุดอ่อน เสริมจุดแข็งในการวางแผนธุรกิจ กำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด พร้อมกับการเพิ่มโอกาสทางการตลาดด้วยการออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้เกิดการจดจำและซื้อซ้ำของผู้ซื้อ ดังนั้นเพื่อให้โมเดลเศรษฐกิจ BCG สามารถดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ประกอบกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 ที่ต้องการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ จึงต้องอาศัยความร่วมมือร่วมแรงของราษฎรในพื้นที่โครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ชุมชน และมูลนิธิสานฝันสันติภาพ บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหน่วยขับเคลื่อนให้เกิดพลังผลักดันการบรรลุเป้าหมายสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ผ่านกิจกรรมการให้บริการวิชาการถือเป็นส่วนหนึ่งในภารกิจหลักและเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยเน้นความสำคัญในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบการให้บริการต่าง ๆ ตามความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของนักวิชาการ นอกจากนี้เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ และมหาวิทยาลัยสามารถเป็นที่พึ่งของประชาชนและสังคม สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่การเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต” ที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรซึ่งเป็นรากฐาน ช่วยลดความเหลื่อมล้ำ ยกระดับคุณภาพชีวิต และกระจายรายได้ให้กับสังคมและชุมชนมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ ในปี 2570 จึงคำนึงถึงการดำเนินงานการให้บริการทางวิชาการอย่างหลากหลายภายใต้เทคโนโลยีและองค์ความรู้อย่างเหมาะสมและทันสมัย ส่งผลต่อการพัฒนาความสมดุลในการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่างสมบูรณ์แบบและยั่งยืน คำนึงถึงความสุขที่แท้จริงของมนุษย์ การพัฒนาจิตใจ และการสร้างจิตสำนึกที่ดีงาม นำมาสู่ประโยชน์สูงสุดแก่สังคมโดยรวมอย่างต่อเนื่องและมีความเชื่อมโยงเป็นระบบด้วยการจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ไบโอชาร์ ดินปลูกอินทรีย์ การปลูกผักตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ การขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การวางแผนทางการเงิน การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ การวางแผนทางการตลาดด้วยโมเดลธุรกิจแคนวาส การเสนอขายผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทางตลาดออฟไลน์ (Offline) และออนไลน์ (Online) และการนำเสนอสินค้า (Pitching) แก่ผู้ร่วมลงทุน เพื่อแสดงถึงการพึ่งพาตนเองอย่างแท้จริงจากการเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรที่มีการวางแผนอย่างรอบด้านและรอบคอบ และมีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) ด้านขจัดความยากจน ขจัดความหิวโหย การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และการลดความเหลื่อมล้ำ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการวางแผนทางการตลาดด้วยโมเดลธุรกิจแคนวาส
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเสนอขายผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทางตลาดออฟไลน์และออนไลน์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิตทางการเกษตรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างโอกาสทางการตลาดและเพิ่มยอดขาย
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 60 ร้อยละ 60
KPI 2 : โมเดลทางธุรกิจแคนวาส
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โมเดล 1
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 5 : ช่องทางการจำหน่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
KPI 6 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : แปลงปลูกผักอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แปลง 1
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 10 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 จำนวน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิตทางการเกษตรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างโอกาสทางการตลาดและเพิ่มยอดขาย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การเตรียมการเพื่อขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/01/2567 - 31/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์  สุภาพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม (20 หน้า/เล่ม) จำนวน 20 เล่ม ๆ ละ 70 บาท 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 1 วัน

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ ปากกา ดินสอ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก ถุงเพาะชำ ถาดเพาะ วัสดุเพาะกล้า เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22900.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การเสนอขายผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทางการตลาดออฟไลน์และออนไลน์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 15/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์  สุภาพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม (20 หน้า/เล่ม) จำนวน 20 เล่ม ๆ ละ 70 บาท 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ ปากกา ดินสอ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 200.00 บาท 0.00 บาท 200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10100.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การวางแผนทางการตลาดด้วยโมเดลธุรกิจแคนวาส

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/05/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์  สุภาพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม (20 หน้า/เล่ม) จำนวน 20 เล่ม ๆ ละ 70 บาท 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ ปากกา ดินสอ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,100.00 บาท 0.00 บาท 4,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ติดตามอย่างใกล้ชิดโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อหาแนวทางแก้ไข
เน้นย้ำให้เกษตรกรปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์และมีการตรวจติดตามอย่างใกล้ชิดโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อหาแนวทางแก้ไข
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ในรายวิชา ดังนี้ - รายวิชา 10501231 เศรษฐศาสตร์เกษตรเบื้องต้น - รายวิชา 10501233 เศรษฐศาสตร์เกษตร - รายวิชา 10501444 แผนธุรกิจการเกษตรชุมชน
ช่วงเวลา : 01/06/2568 - 31/05/2569
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล