ผลของโปรแกรมการจัดการความเครียดต่อความเครียด และคุณภาพการนอนหลับของนิสิตพยาบาล

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : พยบ-66-02
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของโปรแกรมการจัดการความเครียดต่อความเครียด และคุณภาพการนอนหลับของนิสิตพยาบาล
บทคัดย่อ :

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการความเครียดต่อความเครียดและคุณภาพ การนอนหลับของนิสิตพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จำนวน 50 คน ที่เลือกแบบเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการจัดการความเครียดตามแนวคิดของลาซารัสและโฟล์คแมน แบบวัดความเครียดสำหรับคนไทย และแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับของพิทสเบิร์ก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการความเครียด กลุ่มทดลองมีความเครียด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการจัดการความเครียด (t = 2.449) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (t = 3.227) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีคุณภาพการนอนหลับ ไม่แตกต่างจากก่อนได้รับโปรแกรมการจัดการความเครียด และกลุ่มควบคุม

คำสำคัญ : โปรแกรมการจัดการความเครียด , ความเครียด , คุณภาพการนอนหลับ , นิสิตพยาบาล
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effects of a stress management program on stress and sleep quality of nursing students
Abstract :

The purpose of this quasi-experimental research was to study effects of a stress management program on stress and sleep quality of nursing students. A sample of 50 nursing freshmen from Faculty of Nursing Science, Kasem Bundit University, was purposively selected and equally divided into the experiment and control groups using a simple random method. The research tools consisted of a stress management program based on the concept of Lazarus and Folkman, a Thai stress test and Thai version-Pittsburgh sleep quality index. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The research findings were as follows. After receiving the stress management program, nursing students in the experimental group had significantly lower stress than the pre-experiment (t = 2.449) and the control group (t = 3.227) at p < .05, but their sleep quality had no significant difference from the pre-experiment and the control group. The purpose of this quasi-experimental research was to study effects of a stress management program on stress and sleep quality of nursing students. A sample of 50 nursing freshmen from Faculty of Nursing Science, Kasem Bundit University, was purposively selected and equally divided into the experiment and control groups using a simple random method. The research tools consisted of a stress management program based on the concept of Lazarus and Folkman, a Thai stress test and Thai version-Pittsburgh sleep quality index. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The research findings were as follows. After receiving the stress management program, nursing students in the experimental group had significantly lower stress than the pre-experiment (t = 2.449) and the control group (t = 3.227) at p < .05, but their sleep quality had no significant difference from the pre-experiment and the control group.

Keyword : Stress Management Program, Stress, Sleep Quality, Nursing Student
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การพัฒนาทดลอง
สาขางานวิจัย : สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นางสาวจิตรลดา สมประเสริฐ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์วารุณี ผ่องแผ้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพยาบาลศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 นางดวงทิพย์ อนันต์ศุภมงคล
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 นางสาวนฤมล พรหมภิบาล
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2564
1/10/2563 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน อื่น ๆ
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
78,300.00
2
ปีงบประมาณ : 2564
1/1/2564 ถึง 31/12/2564
ประเภทแหล่งทุน : อื่น ๆ อื่น ๆ
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 78,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 เมษายน 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารพยาบาล 
ฉบับที่ : ปีที่ 71 ฉบับที่ 2
หน้า : 19-27
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023