การพัฒนาเว็บไซด์เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าให้วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด ตำบลห้วยทราย อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.2-65-020
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาเว็บไซด์เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าให้วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด ตำบลห้วยทราย อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาดต้องการเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร จึงเล็งเห็นความสำคัญของการขยายช่องทางการตลาดเพื่อให้ผู้ซื้อสามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้จำหน่ายได้ ช่องทางออนไลน์จัดเป็นช่องทางที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เป็นช่องทางที่ทำให้ผู้ซื้อสามารถติดต่อกับผู้จำหน่ายได้อย่างรวดเร็วและผู้จำหน่ายสามารถจัดจำหน่ายสินค้าโดยตรงกับผู้ซื้อได้โดยไม่ต้องผ่านนายหน้าคนกลาง

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 1) เพื่อพัฒนาเว็บไซด์เพื่อเพิ่มช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าให้ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด โดยมุ่งศึกษาถึงแนวทางการศึกษาพัฒนา สื่อออนไลน์ และ 2) เพื่อ ทำตลาดออนไลน์ในการจําหน่ายสินค้าทางการเกษตร

โดยงานวิจัยนี้ทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ประกอบการของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด และใช้แนวทางพัฒนาระบบโดยใช้แนวคิด Agile Method ที่ช่วยลดระยะเวลาในการกระบวนการพัฒนาเว็บ ไซด์ที่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ในการพัฒนาเว็บไซด์ได้ใช้เครื่องมือเวิร์ดเพรสส์ (Wordpress) ทำการ ปรับแต่งรูปแบบเว็บไซด์จากตรีมที่มีให้ในการกำหนดรูปแบบเว็บไซด์ (Customzie Theme) ทำให้ร้านค้าที่จำหน่ายสินค้าสามารถบริหารจัดการร้านค้าและจำหน่ายสินค้าในรูปแบบมาร์เก็ตเพลส (Marketplace) รองรับการใช้งาน แบบ Web Responsive ที่สามารถยืดหยุ่นต่อการแสดงผลในอุปกรณ์ได้ทุกรูปแบบ และ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการใช้งานของผู้ใช้งานกลุ่มต่าง ๆ

ผลประเมินผลการพึงพอใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด 1) ด้านการใช้งานระบบ พบว่า อันดับที่ 1 ได้แก่ การแสดงรูปแบบรายงานได้ตามต้องการ (ค่าเฉลี่ย 4.30) อันดับที่ 2 ได้แก่ การแสดงผลรายงานที่รวดเร็ว (ค่าเฉลี่ย 4.00) และเป็นอันดับสาม ได้แก่ การเรียกดู ข้อมูลทำได้ง่ายและสะดวก (ค่าเฉลี่ย 3.85) 2) ด้านความถูกต้องของข้อมูล พบว่า อันดับที่ 1 ได้แก่ ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล (ค่าเฉลี่ย 4.15) อันดับที่ 2 ได้แก่ แสดงรูปแบบรายงานได้ ตามความต้องการ (ค่าเฉลี่ย 4.00) และอันดับที่ 3 ได้แก่ ข้อมูลมีความสอดคล้องกับลำดับชั้น (ค่าเฉลี่ย 3.95)

คำสำคัญ : เว็บไซด์ , ช่องทางการจัดจำหน่าย , วิสาหกิจชุมชน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development Of Website to Increase Market Channel For Ban Mae-Tad Organic Farming Community Enterprise, Huai Sai, San Kamphaeng, Chiang Mai
Abstract :

Ban Mae Tad Organic Farming Community Enterprise Group wants to increase income for farmers. Therefore, it is important to expand marketing channels to allow customers to access vendor information. Online channels are considered as very popular channels because it allows buyers to contact suppliers quickly. In addition, the venders can sell their products directly to buyers without a middle person.

The objectives of this research were 1) to develop a website to increase distribution channels for the Ban Mae Tad Organic Agriculture Community Enterprise by focusing on the study guidelines for the development of online media and 2) to do online marketing for selling agricultural products

This research collected data from the entrepreneurs of the Ban Mae Tad Organic Agriculture Community Enterprise. This research chooses the concept Agile Method as a guideline for system developing approach. This method reduces the time in the process of developing a website that meets the intended purpose.

This study uses WordPress tools to develop the website. This tool is customizing the website's layout from the themes provided to define the website (Customzie Theme). Thus, the shop of Ban Mae Tad Organic Farming Community Enterprise Group able to manage stores and sell products in the form of a marketplace (Marketplace). This system is also support Web Responsive applications that can be flexible to display on all types of devices. Therefore, it is convenience and speed of use of different groups of users

Assessment of Satisfaction of Ban Mae Tad Organic Agriculture Community Enterprise

Group.

1) in terms of system usage. It found that the 1st rank was the report format can be displayed as needed. The 2nd ranked was the fast report. The 3rd rank was the browsing to look at information is easy and convenient. The average scores were 4.30, 4.00, and 3.85, respectively.

2) In terms of the accuracy of the information. It found that the 1st rank was that the accuracy and completeness of the information. The 2nd ranked was that the report format can be customized according to demand. The 3rd rank was that the data was hierarchical. The average scores were 4.15, 4.00, and 3.95, respectively.

Keyword : Website, Distribution channel, community enterprise
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์สุชีรา ขยาย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
40 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.ดวงนภา สุขะหุต
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
3 น.ส.สุธีรา หมื่นแสน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : งานบริหารและธุรการ สำนักงานคณบดีคณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในหน่วยงาน
งบประมาณของหน่วยงาน
23,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 23,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023