การสร้างมูลค่าเพิ่มจากมูลม้าอินทรีย์ที่ใช้เพิ่มจุลินทรีย์ในดินแก่พื้นที่เกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างรายได้แก่เกษตรกรในชุมชนบ้านห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.2-65-017
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การสร้างมูลค่าเพิ่มจากมูลม้าอินทรีย์ที่ใช้เพิ่มจุลินทรีย์ในดินแก่พื้นที่เกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างรายได้แก่เกษตรกรในชุมชนบ้านห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ (exploratory research) โดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group) และการสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ประกอบการเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายในชุมชนห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ 10 ราย งานวิจัยใช้ทฤษฎีผู้ประกอบการเป็นแนวคิดพื้นฐานและแนวคิดการสร้างมูลค่าเพิ่มจากมูลม้าในการทำวิจัย โดยมุ่งไปที่ลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการวิเคราะห์มูลม้า การสร้างมูลค่าเพิ่มจากมูลม้าที่เหมาะสมเบื้องต้นปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ถึงธุรกิจที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ในการจะเป็นผู้ประกอบการเกษตรกรปุ๋ยหมักมูลม้าและดินผสม และการเสวนาด้านความรู้เชิงประกอบการ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลการวิจัยพบว่าการสร้างมูลค่าเพิ่มจากของเสียมูลม้าในระยะแรกควรเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการหมักปุ๋ยมูลม้าอินทรีย์ที่มีคุณภาพสูงและการผสมดินปลูกจากมูลม้า สำหรับจำหน่ายในพื้นที่แก่เกษตรกรในพื้นที่และผู้ค้าคนกลาง ก่อนที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มในรูปแบบอื่น ด้านอื่นแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่เฉพาะมากขึ้น

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Organic Horse Manure Value Adding to Raise Farmer Entrepreneurs Income in Huay Yab Community
Abstract :

This exploratory research was used focus group method and interview technique to collect data from 10 target group of farmers’ entrepreneurs in Huai Yab community, Ban Thi district. Entrepreneurial theory and the concept of creating added value from horse manure were used as the basic idea in research.

This research focuses on the characteristics of the target audience, horse manure analysis, creating added value from horse manure, various environmental factors to analyze the business. The results show that the initial value-added from horse manure waste should be value-added by composting high quality organic horse manure and mixing potting soil from horse manure for distribution in the area to local farmers and middlemen before adding other forms of added value to more specific target customers.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในหน่วยงาน
งบประมาณของหน่วยงาน
23,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 23,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023