โครงการการเพิ่มคุณค่าเศษวัสดุปาล์มน้ำมันเหลือศูนย์ด้วยกระบวนการไพโรไลซีสนำร่องระดับชุมชน แหล่งทุน สำนักวิจัยและพัฒนาวิชาการการเกษตร ม.แม่โจ้

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2566
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : โครงการการเพิ่มคุณค่าเศษวัสดุปาล์มน้ำมันเหลือศูนย์ด้วยกระบวนการไพโรไลซีสนำร่องระดับชุมชน แหล่งทุน สำนักวิจัยและพัฒนาวิชาการการเกษตร ม.แม่โจ้
บทคัดย่อ :

ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาปาล์มน้ำมันตกอยู่ในสภาวะวกฤติ ราคาตกต่ำ การส่งเสริมการใช้น้ำมันปาล์มเพื่อเป็นพลังงานทดแทนจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการช่วยเหลือเกษตรกร สอดคล้องกับแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ กระทรวงพลังงานได้ทบทวนการจัดทาแผนพลังงาน 5 แผนหลัก ในช่วงปี พ.ศ. 2558 – 2579 ที่สอดคล้องกับรอบของการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่ แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย แผนอนุรักษ์พลังงาน แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการนามันเชื อเพลิง โดยในการจัดทาแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP2015) อีกทั งยังสามารถปัญหามลพิษทางอากาศ PM 2.5 ซึ่งเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมหลักของประเทศสาเหตุจากเกิดจาการเผาทาลายชีวมวลจากปาล์มนามัน ดังบั นโครงการนี จึงเป็นโครงการที่ต้องการที่จะพัฒนานาเอาชีวมวลที่เหลือทิ งจากกระบวนการผลิตปาล์มนามันในเขตพื นที่ภาคเหนือมาเพิ่มมูลค่าให้กับทางเกษตรกรที่มีอยู่ในชุมชนโดยมีการนาเอามีการออกแบบสร้างเครื่องไพโรไลซีสสาหรับในการผลิตถ่านชีวภาพผลิตนาส้มควันไม้และนามันชีวภาพให้ได้ปริมาณและคุณภาพสูงสุด ซึ่งหลังจากทีได้ในส่วนของถ่านชีวภาพ สารชีวภาพและนามันชีวภาพแล้วจะนาเอาผลิตภัณฑ์ที่ได้ทั ง 3 ชนิดนี ไปดาเนินการต่อในด้านของการแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน โดยในส่วนของถ่านชีวภาพเราจะมีการนาไปใช้เป็นสารปรับปรุงดินเพื่อใช้ในการเกษตรของเกษตรอินทรีย์ของชุมชน ในขณะที่ในส่วนของสารชีวภาพนาส้มควันไม้จะมีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าในการนาเอาไปจาหน่ายในท้องตลาดและเป็นผลิตภัณฑ์ส่วนผสมสาหรับการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดขึ นในชุมชน ในส่วนที่ 3 คือนามันชีวภาพจะมีการพัฒนาเป็นนามันชีวภาพที่ใช่งานภายในชุมชน ซึ่งทั งเครื่องต้นแบบและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโครงการทั งหมดนี เมื่อได้ดาเนินการเสร็จแล้วจะนาไปขยายผลให้กับทางชุมชนและซึ่งจะก่อให้เกิดรายได้ที่เพิ่มขึ นกับชุมชนจะเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนที่มีพื นที่ในการปลูกปาล์มนามันอยู่แล้วมีความมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้น

คำสำคัญ : ทางใบปาล์มนามัน ทะลายปาล์ม ถ่านชีวภาพ นามันชีวภาพ น้ำส้มควันไม้
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Zero Waste Palm Enrichment with Using Pyrolysis Process on Pilot community Scale
Abstract :

ไม่มี

Keyword : Oil palm frond, Palm bunch, bio-char, bio-oil, wood vinegar
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกราน หอมดวง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
30 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติกร สาสุจิตต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 อาจารย์ ดร.ภคมน ปินตานา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 อาจารย์ ดร.Rameshprabu Ramaraj
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 นคร ทิพยาวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
6 น.ส.นงเยาว์ เต๋จ๊ะใหม่
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : งานบริหารและธุรการ สำนักงานคณบดีวิทยาลัยพลังงานทดแทน วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
7 ภูนิทัต สายแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2564
1/10/2563 ถึง 30/9/2566
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
950,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 950,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023