การกำหนดระดับการใช้ประโยชน์ทางการท่องเที่ยวตามขีดความสามารถรองรับได้ด้านสังคมจิตวิทยาและด้านเศรษฐกิจที่ชุมชนท่องเที่ยวเกาะพิทักษ์ จังหวัดชุมพร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : สกว.-61-002(1)
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การกำหนดระดับการใช้ประโยชน์ทางการท่องเที่ยวตามขีดความสามารถรองรับได้ด้านสังคมจิตวิทยาและด้านเศรษฐกิจที่ชุมชนท่องเที่ยวเกาะพิทักษ์ จังหวัดชุมพร
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว และเสนอแนะแนวทางจัดการด้านเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่แหล่งท่องเที่ยวของชุมชนเกาะพิทักษ์ จังหวัดชุมพร ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การประชุมเชิงปฎิบัติการ แบบสัมภาษณ์ จานวน 36 ชุด และแบบสอบถามนักท่องเที่ยว จานวน 400 ชุด วิเคราะห์ผลแบบบรรยายเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าตามข้อคาถาม ผลการศึกษา พบว่าสถานการณ์ทางการท่องเที่ยว ของชุมชนมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมาก (??? = 3.94) โดยเฉพาะการต้อนรับและการให้บริการ (??? = 4.18) ขณะที่ชุมชนมีผลกระทบต่อการลงทุนและการดารงชีพด้านบวก (??? = 0.54) โดยรับรู้ว่ามีกาไรในการดาเนินธุรกิจในระดับปานกลาง (??? = 3.06) มีรายจ่ายหมุนเวียนในชุมชน (ร้อยละ 58.17) มีเงินออม และความสัมพันธ์ในครัวเรือนดีขึ้น (??? = 1.03) และ (??? = 1.14) และมีผลกระทบด้านลบ เช่น การเปลี่ยนมือที่ดิน (??? = -.43) การแข่งขันทางราคา (??? = -.06) และหนี้สิน (??? = 0.03) และจากผลการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายด้านเศรษฐกิจเขียนเป็นสมการพยากรณ์ คือความสุขในชุมชน = 4.016 + (0.977)กาไร + (0.744)เงินออม + (- 0.967) หนี้สิน แสดงให้เห็นว่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีทั้งผลกระทบด้านบวกและด้านลบ หรือส่วนใหญ่มีผลกระทบในระดับปานกลาง ดังนั้น แนวทางการพัฒนาควรติดตามผลกระทบที่มีแนวโน้มรุนแรง และสร้างมูลค่าเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน รวมถึงกาหนดมาตรการบริหารจัดการที่ลดความขัดแย้งและสงครามราคา เช่น การกาหนดจุดคุ้มทุน การกระจายตัวของนักท่องเที่ยวให้เหมาะกับบ้านพักและสร้างกลไกความร่วมมือให้เจ้าของบ้านพักโฮมสเตย์ในการทาอาหารรับรองนักท่องเที่ยวที่มาเยือนในลักษณะกลุ่มใหญ่ร่วมกัน

คำสำคัญ : การท่องเที่ยวโดยชุมชน , ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ , เกาะพิทักษ์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :
Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ รักษาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
40 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ ณ ทองแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
(2561)
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 อาจารย์ ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
(2561)
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 อาจารย์อุทัยวรรณ ศรีวิชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักงานมหาวิทยาลัย / ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และโครงการพิเศษ
ผู้วิจัยร่วม
(2561)
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/12/2560 ถึง 30/11/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
เป็นโครงการย่อยภายใต้แผนวิจัยเรื่อง "การกำหนดระดับการใช้ประโยชน์ทางการท่องเที่ยวตามขีดความสามารถรองรับได้เพื่อเพิ่มพูนมาตรฐานการบริหารจัดการแห่งท่องเที่ยวโดยชุมชน
611,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 611,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
18 มีนาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา 
ฉบับที่ : Vol.9 No.1 January – June 2020
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
0.6
1 มกราคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 
ฉบับที่ : ปีที่ 41 ฉบับที่ 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : มหาวิทยาลัยศิลปากร
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023