การประดิษฐ์เซนเซอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือตรวจวิเคราะห์สุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้นาโนเทคโนโลยีช่วยในการเสริมประสิทธิภาพสัญญาณ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-011
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประดิษฐ์เซนเซอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือตรวจวิเคราะห์สุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้นาโนเทคโนโลยีช่วยในการเสริมประสิทธิภาพสัญญาณ
บทคัดย่อ :

ชุดโครงการวิจัยประกอบด้วยโครงการย่อย 3 โครงการได้แก่ (i) การประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์ (ii) การประดิษฐ์กลูโคสเซนเซอร์ และ (iii) การประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์ โครงการ (i) เป็นการประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์โดยใช้ไคโตซานแอทคาร์บอนดอท (CHIT@CD) และตรึงทับด้วยเอนไซม์ไทโรซิเนส (Tyr) บนขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีน (SPCE) (SPCE/CHIT@CD/Tyr) พบว่าให้ค่าการใช้งาน 25 ครั้ง มีขีดจากัดการตรวจวัด 0.036 ไมโครโมลาร์ โดปามีนไบโอเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นได้ทดสอบในตัวอย่างเลือดพบว่าให้ค่าเปอร์เซนต์การกลับคืนในช่วง 99.79 – 104.82 เปอร์เซนต์ โครงการ (ii) ประดิษฐ์กลูโคสเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้ขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะคล้ายปะการังและอนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอน เซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นมีช่วงความเป็นเส้นตรงกว้าง มีขีดจากัดการตรวจวัด 1.5 ไมโครโมลาร์ สามารถนาไปตรวจวัดกรดยูริคในตัวอย่างปัสสาวะได้โดยให้ผลร้อยการกลับคืนในค่าที่ยอมรับได้ โครงการ (iii) เป็นการประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์โดยใช้โลหะทองแดง (Cu) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมกับแผ่นกราฟีนออกไซด์ (GO) บนใส้ดินสอ (PCE) (Cu@GO/PCE) นำเซนเซอร์ไปประยุกต์ใช้ตรวจวัดกรดยูริคในตัวอย่างปัสสาวะและเลือดโดยทดสอบเทียบกับวิธีมาตรฐานไมโครเพจรีดเดอร์ซึ่งให้ผลทางสถิติแบบแพร์ที-เทสต์ของวิธีที่พัฒนาขึ้นไม่ต่างจากวิธีมาตรฐาน

คำสำคัญ : โดปามีนไบโอเซนเซอร์ กลูโคสเซนเซอร์ ยูริคเซนเซอร์ วัสดุนาโน , เซนเซอร์ทางแพทย์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

This program contains 3 projects following (i) the dopamine biosensor, (ii) the glucose sensor, and (iii) the uric sensor. The first project was the dopamine biosensors development using chitosan at carbon dots (CHIT@CD) and the tyrosinase enzymes (Tyr) deposit on the screen-printed carbon electrode (SPCE) (SPCE/CHIT@CD/Tyr). It showed 25 times usage, with a low detection limit of 0.036 ?M. This biosensor was successfully tested for dopamine in the blood sample provided with the percentage recovery in the range of 96.00 - 98.80 percent. The second project was the development of a glucose sensor on the glassy carbon electrode based on Ni particles and ordered mesoporous carbon. This glucose sensor showed a low detection limit at 0.59 ?M and it was successfully tested for glucose in urine samples with satisfactory percent recoveries. The last project was the development of a uric sensor based on Cu metal corporate with graphene oxide (GO) on a pencil carbon electrode (Cu@Go/PCE). This sensor was ability performed in the detection of uric in urine and blood sample. It was shown not significantly different at paired T-test to the standard method at 95% confidence level.

Keyword : Dopamine biosensor, Glucose sensor, Uric sensor, Nanomaterials, Medical sensors
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานินทร์ แตงกวารัมย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
20 ไม่ระบุ
2 น.ส.จิราภรณ์ กิติกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
3 นางพิมพร มะโนชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
4 ผศ.ดร.กุลวดี ปิ่นวัฒนะ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
5 ผศ.ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
30/4/2563 ถึง 1/10/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
1,053,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,053,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023