การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-004
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
บทคัดย่อ :

วัตถุประสงค์ของชุดโครงการวิจัยนี้เพื่อเป็นแนวทางในการให้ชุมชนที่สนใจพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน

ในรูปวิสาหกิจ เช่น ปลานิลในระบบอินทรีย์ การสร้างปลาหนังสายพันธุ์ใหม่ การผลิตและแปรรูปปูนา การผลิต

กุ้งก้ามกราม การเลี้ยงปลาร่วมกับการปลูกพืช และการใช้ทรัพยากรประมงจากอ่างเก็บน้ำให้เป็นอาหาร

ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม วิธีการศึกษาใช้การศึกษาทางสังคมศาสตร์เชิงปริมาณศึกษาแนวทางการจัดตั้ง

วิสาหกิจชุมชนด้านปลานิลและการประมงเหนือเขื่อนกิ่วลม ร่วมกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์ในการผลิต

สายพันธุ์ปลาหนังลูกผสม ปูนา กุ้งก้ามกราม การเลี้ยงปลาร่วมกับปลูกพืชและผลิตภัณฑ์น้ำพริกปูนา ผล

การศึกษาพบว่า การรวมกลุ่มวิสาหกิจที่ยั่งยืนจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติที่ดี รวมทั้งความพึง

พอใจในการวมกลุ่มโดยเฉพาะการทำการตลาดและความเป็นผู้นำ นอกจากนี้ทางหน่วยงานภาครัฐมีส่วน

สำคัญอย่างมากในการสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่ม สำหรับการผลิตปลาหนังสายพันธุ์ที่เหมาะสมคือการผสม

กันระหว่างปลาหนังลูกผสมบึกสยาม (ลูกผสมระหว่างพ่อปลาบึก x แม่ปลาสวาย) กับปลาเทโพจะให้ผลดี

ที่สุดในแง่การเจริญเติบโต คุณภาพเนื้อตลอดจนคุณค่าทางโภชนาการ สำหรับการเลี้ยงปูนา อาหารเม็ดผสม

สาหร่ายอาร์โธรสไปร่าผง 3% ให้ผลด้านการเจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ ต้นทุนและคุณค่าทางโภชนาการดี

ที่สุด การผลิตน้ำพริกน้ำปูด้วยพริกจินดาเขียว (Capsicum furtescens) ร่วมกับการย่างและพริกขี้หนู

(C. furtescens) ร่วมกับการอบมีสีเขียวอมเทาเหมาะสมที่สุด นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์และวิธีการฆ่า

เชื้อจุลินทรีย์โดยใช้ถุงรีทอร์ทเพาซ์แบบใสร่วมกับการสเตอริไลส์ เหมาะสมที่สุด ในด้านการเพิ่มผลเลี้ยงกุ้ง

ก้ามกรามสามารถใช้กากมะพร้าวสดหมักปริมาณ 5–10 เปอร์เซ็นต์ ผสมอาหารกุ้งก้ามกรามช่วยเพิ่มการ

เจริญเติบโตได้ สำหรับระบบการเลี้ยงปลาแบบรวมมีผลต่อพืชผักที่ปลูกอย่างมีนัยสำคัญ ผลการศึกษา

ทั้งหมดนี้ชุมชนที่มีทรัพยากรจากสัตว์น้ำในท้องถิ่นสามารถนำไปประยุกต์ในการรวมกลุ่มสร้างผลิตภัณฑ์

ขึ้นมา จนสามารถนำรายได้มาเลี้ยงตนเองและชุมชนได้ต่อไป

คำสำคัญ : สัตว์น้ำเศรษฐกิจ ความปลอดภัยและวิสาหกิจชุมชน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

The main objective of this project is to guide the communities who are interested in developing

products in the community as an enterprise, such as organic tilapia, improving of crosses hybrid catfish,

rice field crab feed formulation, crab chili paste, increasing giant freshwater prawn production using

agriculture by product, aquaponic with polyfish-culture and the enterprise of fisherman in reservoirs for

food safety and the environment friendly. The methods for the study consist of a quantitative research

surveys for social science were used to study for guidelines the establishment of community enterprises on

tilapia and fisheries group above Kiew Lom dam. In conjunction with scientific experiments in the crossbrid

of hybrid catfish, the appropriate crab feed formulation, crab chili paste, giant freshwater prawn and

aquaponic with polyfish-culture. The results of the study showed that sustainable enterprise integration

requires knowledge, understanding, a positive attitude, as well as satisfaction cooperation, especially

marketing and leadership. In addition, government agencies play a very important role in supporting the

establishment of their cooperation. For the crossing of hybrid catfish, a suitable species is a cross between

a Siamese catfish hybrid. (A cross between father catfish x mother Pangasai) and Chaopraya catfish will

give the best results in terms of growth performance, meat quality as well as nutritional value. In case of

rice field crab feed formulation Arthrospira platensis was added as powder 3% giving the best of growth

performance, feed conversion ratio, lowest cost-benefit and high nutritional value. The production of chili

crab paste made with chili peppers (Capsicum furtescens), in combination with roasting and paprika (C.

furtescens) together with baking, is the most suitable grayish green. In addition, microbial sterilization and

packaging using transparent retort pouch with sterilization. Optimal In the aspect of raising the giant

freshwater cultures, 5–10 percent of fermented fresh coconut residue can be mixed with prawn feed to

increase the growth. The combined polyculturefish had a significant effect on the cultivated with vegetables.

As a result of all these studies, communities with local aquaculture resources can be applied to create product

groups. Until they can continue to bring their income to support themselves and the community.

Keyword : Economic Aquatic Animal, Food Safety and Communities Enterprise
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์ เทียมเมือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
64 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจวบ ฉายบุ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี วิระสิทธิ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
4 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
5 อาจารย์กานต์ ทิพยาไกรศรี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
6 อาจารย์ ดร.วาธิณี อินทรพงษ์นุวัฒน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
7 รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล พรมยะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
6 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
30/4/2563 ถึง 1/10/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
4,229,939.00
   รวมจำนวนเงิน : 4,229,939.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023