การเสริมสารจากเปลือกมะละกอและเปลือกสับปะรดเพื่อเพิ่มผลผลิตปลากะพงและปลากดหลวงเชิงพาณิชย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-01-004
รหัสอ้างอิง วช. : 63A111000018
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเสริมสารจากเปลือกมะละกอและเปลือกสับปะรดเพื่อเพิ่มผลผลิตปลากะพงและปลากดหลวงเชิงพาณิชย์
บทคัดย่อ :

การศึกษาการย่อยในหลอดอาหารด้วยวิธี in vitro digestibility และการเจริญเติบโตของปลากะพงและปลากดหลวงที่เลี้ยงด้วยอาหารผสมน้าคั่นจากเปลือกสับปะรด (PA) และ เปลือกมะละกอ (PP) ที่เลี้ยงในระบบน้าหมุนเวียน โดยมีอาหารทดลองที่มีโปรตีน 40 เปอร์เซ็นต์ สาหรับเลี้ยงปลากะพง และ 25 เปอร์เซ็นต์ สาหรับเลี้ยงปลากดหลวง แบ่งชุดทดลองเป็น 4 ชุดทดลอง 3 ซ้า คือ อาหารควบคุม (Control) อาหารผสมน้าคั่นจากเปลือกสับปะรด 5 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัม (PA) อาหารผสมเปลือกมะละกอ 5 กรัมต่อกิโลกรัม (PP) และ อาหารผสมทั้งน้าคั่นจากเปลือกสับปะรด 5 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัม และเปลือกมะละกอ 5 กรัมต่อกิโลกรัม (PA+PP) เลี้ยงเป็นระยะเวลา 90 วัน ผลการทดลองพบว่า การย่อยคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนของอาหารทดลอง 4 สูตร โดยเอนไซม์จากลาไส้ของปลากะพง สามารถย่อยอาหาร PA ได้ดีที่สุด ส่วนการย่อยคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนด้วยเอนไซม์จากลาไส้ของปลากดหลวง พบว่า สามารถย่อยอาหาร PP ได้ดีที่สุด ผลการเจริญเติบโตของปลากะพง พบว่า น้าหนักที่เพิ่มขึ้น ความยาวที่เพิ่มขึ้น การเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน อัตรารอดดีที่สุดในชุดทดลองที่ให้อาหาร PA+PP แต่ไม่แตกต่างทางสถิติ (p>0.05) ส่วนการเจริญเติบโตของ ปลากดหลวง พบว่า น้าหนักที่เพิ่มขึ้น ความยาวที่เพิ่มขึ้น และการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญในปลากดหลวงที่ได้รับอาหาร PP (p<0.05) และแตกต่างจากอาหาร Control ต้นทุนการผลิตของปลากะพงที่เลี้ยงด้วยอาหาร PA+PP เท่ากับ 81.21 บาทต่อกิโลกรัม และต้นทุนการผลิตของปลากดหลวงที่เลี้ยงด้วยอาหาร PP เท่ากับ 43.44 บาทต่อกิโลกรัม คุณภาพน้าในบ่อทดลองมีความเหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าตามมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ

คำสำคัญ : เปลือกมะละกอ เปลือกสับปะรด ปลากะพง ปลากดหลวง อาหารสัตว์น้ำ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The supplemented extract from papaya peel and pineapple peels to increase the productivity of commercial sea bass and channel catfish
Abstract :

The in vitro digestibility and growth performances of Sea bass (Lates calcarifer (Bloch)) and channel catfish (Ictalurus punctatus) fed with feed mixed with pineapple peel (PA) and papaya peel (PP) in a Recirculating Aquaculture System (RAS) were carried out. The control feeds were 40 % protein for cultured sea bass and 25 % protein for cultured channel catfish. Four treatments with 3 replications of fish fed with control, pineapple juice 5 ml/kg feed (PA), papaya peel 5 g/kg feed (PP), a combination of 5 ml/kg feed pineapple juice and 5 g/kg feed papaya peel (PP+PA). The experiment was conducted for 90 days. The results showed that in vitro digestibility of carbohydrate and protein with enzymes from sea bass was highest in PA and crude enzymes from channel catfish was highest in PP (p>0.05). Growth performances of sea bass showed that weight gain, length gain, average daily gain and survival rate were highest in PA+PP; however, all treatments was not significantly different (p>0.05). Growth performances of channel catfish showed that weight gain, length gain and average daily gain highest in fish fed with PP feed (P<0.05) from a control. The cost of PA+PP for sea bass was 81.21 baht per kilogram while the cost of PP for channel catfish was 43.44 baht per kilogram. The water quality in this research was within the recommended levels by the Pollution Control Department.

Keyword : papaya peel, pineapple peels, sea bass, channel catfish, fish feed
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดาพร ตงศิริ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
70 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
600,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 600,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 เมษายน 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
25 ธันวาคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า : 147-157
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
28 มีนาคม 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า : 576-581
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
28 มิถุนายน 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง 
ฉบับที่ : 1
หน้า : 1-9
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัยพากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023