การเตรียมถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไยที่มีหมู่ฟังก์ชันด้วยกรดซัลโฟนิกและการประยุกต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเอสเทอริฟิเคชันของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-04-007
รหัสอ้างอิง วช. : 63A111000009
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเตรียมถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไยที่มีหมู่ฟังก์ชันด้วยกรดซัลโฟนิกและการประยุกต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเอสเทอริฟิเคชันของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไยที่มีหมู่กรดซัลโฟนิกสำหรับเร่งเอสเทอริฟิเคชันของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม (PFAD) เพื่อผลิตเมทิลเอสเทอร์สำหรับใช้เป็นไบโอดีเซล เมล็ดลำไยจะถูกกระตุ้นด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ในสภาวะแตกต่างกัน ตามด้วยนำไปผ่านกระบวนการซัลโฟเนชันด้วยกรดซัลฟิวริกเข้มข้น (H2SO4) ภายใต้สภาวะการรีฟลักซ์ เพื่อให้ได้หมู่กรดซัลโฟนิกบนโครงสร้างของถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไย (LSAC-SO3H) ถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไยที่มีหมู่กรดซัลโฟนิก (LSAC-SO3H) พบว่าแสดงโครงสร้างคาร์บอนแบบอสัณฐาน มีพื้นที่ผิวจำเพาะในช่วง 1100-2160 m2/g ปริมาตรรูพรุนเฉลี่ยในช่วง 0.5158-1.1030 cm3/g รัศมีรูพรุนเฉลี่ย 9.27-10.23 ? และแสดงค่าความเป็นกรด 0.31-0.46 mmol/g ศึกษาผลการเร่งเอสเทอริฟิเคชันดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์มกับเมทานอลที่อุณหภูมิ 80 ?C อัตราส่วน PFAD:MeOH เท่ากับ 1:4 ปริมาณตัวเร่ง -3 % โดยน้ำหนัก และที่เวลา 8 ชั่วโมง จากผลการศึกษาเอสเทอริฟิเคชัน พบว่า LSAC-A-SO3H แสดงค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงกรดไขมันอิสระสูงกว่า LSAC-B-SO3H นอกจากนี้ LSAC-A-SO3H สามารถใช้ซ้ำในการเร่งเอสเทอริฟิเคชันได้ถึง 4 ครั้ง

คำสำคัญ : ดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม ถ่านกัมมันต์ เมล็ดลำไย ไบโอดีเซล หมู่ซัลโฟนิก เอสเทอริฟิเคชัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Preparation of longan seed activated carbon functionalized with sulfonic acid group and their application as catalyst in esterification of palm fatty acid distillate
Abstract :

In this study to prepare longan seed activated carbon with sulfonic acid group for esterification of palm fatty acid distillate (PFAD) to produce methyl ester for biodiesel. The longan seed was activated with NaOH in various condition (LSAC) following sulfonation with concentrated H2SO4 under reflux condition to obtain sulfonic acid group onto structure of longan seed activated carbon (LSAC-SO3H). The LSAC-SO3H exhibited the amorphous carbon structure, specific surface area 1100-2160 m?/g, average pore volume 0.5158-1.1030 cm3/g, average pore diameter 9.27-10.23 ? and acid amount 0.31-0.46 mmol/g. The esterification of palm fatty acid distillate with methanol were studied at 80oC, PFAD:MeOH radio as 1:4, catalyst amount as 3 wt. % and 8 hours. The esterification study found that LSAC-A-SO3H exhibited the highest conversion of free fatty acid than LSAC-B-SO3H. In addition, LSAC-A-SO3H had reusability in esterification for 4 times.

Keyword : Palm fatty acid distillate; longan seed; activated carbon; biodiesel; sulfonic group; esterification
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดินันท์ นันตัง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
90 ไม่ระบุ
2 นายพรเทพ ไชยวุฒิ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023