การบริหารจัดการสวนป่าไม้สักอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-05
รหัสอ้างอิง วช. : 63Z20724186005
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การบริหารจัดการสวนป่าไม้สักอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่
บทคัดย่อ :

การบริหารจัดการสวนป่าไม้สักอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คามี จังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการเปรียบเทียบ การเจริญเติบโต และความหลากหลายของพันธุ์พืชที่เกิดขึ้นทดแทนในพื้นที่สวนป่าไม้สักในแต่ละอายุ, ศึกษาลักษณะเชิงหน้าที่ของพรรณพืชเพื่อประเมินการกักเก็บคาร์บอน, การประมาณความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ภายใต้การแจกแจงปัวซงผสมที่ตัดค่าศูนย์ เพื่อประมาณจานวนชนิดพันธุ์พืช และ ศึกษาการเสริมสร้างจิตสานึกสาธารณะของผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ โดยการเก็บข้อมูลในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คามีในพื้นที่

ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาการเจริญเติบโต และความหลากหลายของพันธุ์พืชในพื้นที่สวนป่าสักที่มีการปฏิบัติทางวนวัฒวิทยา สามารถส่งเสริมการเติบโตและผลผลิตที่เพิ่มขึ้นและความหลากหลายสามารถเติบโตกลับมาได้ตามธรรมชาติ ลักษณะเชิงหน้าที่ของพรรณพืชเพื่อประเมินการกักเก็บคาร์บอนของหมู่ไม้สามารถอธิบายถึงการทางานของหมู่ไม้ในระบบนิเวศได้ ทาให้เข้าใจลักษณะการทางานเชิงนิเวศบริการมากยิ่งขึ้น การประมาณความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สามารถ ประยุกต์ใช้กับข้อมูล 12 ชุด ได้ค่าประมาณแบบช่วง 95% การเสริมสร้างจิตสานึกสาธารณะของผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้มีแนวทาง คือ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน, การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร, การพัฒนาคนเพื่อสร้างจิตสานึกที่ดีในการอนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน, การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างเป็นระบบโดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

คำสำคัญ : การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน , สวนป่าไม้สัก , สวนป่าขุนแม่คามี , จังหวัดแพร่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Sustainable management of Teak Plantation in Khun Mae Kham Mee Plantation, Phrae Province
Abstract :

Sustainable management of Teak Plantation in Khun Mae Kham Mee Plantation, Phrae Province aimed studied to growth, yield and species diversity of Teak plantation under different age, using plant functional trait for evaluate carbon storage, estimating species richness under the zero truncated mixed Poisson distribution and promoting public consciousness of people utilizing forest resources. Collecting data in the Khun Mae Kham Mee plantation.

The study found that the Teak plantation area that has the silvicultural practices. It can promote increased growth, productivity and diversity succession. Plant functional trait for predicted carbon stock in teak plantation ecosystem. It’s can emphasis functional mechanism explaining on ecosystem service functioning. Species diversity estimates can be applied to 12 sets in 95% interval. promoting public consciousness of people utilizing forest resources with the guidelines were promote people participation, support the stability of resource base, develop human resource by cultivating good conscience to conserve and take care of resources they mutually utilized and operate resource management systematically through all sectors cooperation.

Keyword : Sustainable management, Teak Plantation, Khun Mae Kham Mee Plantation, Phrae Province
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ คำโย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
50,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 50,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023