นวัตกรรมผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจคุณภาพสูงยุค 4.0 รองรับการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-01
รหัสอ้างอิง วช. : 63Z31018186003
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : นวัตกรรมผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจคุณภาพสูงยุค 4.0 รองรับการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
บทคัดย่อ :

สถานการณ์ด้านความต้องการอาหารมีแนวโน้มสูงขึ้นทาให้เกษตรกรต้องปรับตัวและพัฒนาระบบเพาะเลี้ยงที่ใช้พื้นที่น้อยให้ผลผลิตสูงและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นแผนงานวิจัยนี้ได้ประกอบการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงและการจัดการการเลี้ยงผ่านระบบประสบความสำเร็จโดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำที่เหมาะสมที่สามารถตอบสนองความต้องการและแก้ไขข้อจากัดของการเลี้ยงสัตว์น้ำในภาคเหนือด้วย ระบบปิดที่เป็น land base aquaculture ที่ใช้เทคโนโลยี precision ที่ควบคุมความแม่นยำ ในการบริหารจัดการฟาร์ม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดความเสี่ยงในการเลี้ยงสัตว์น้ำสมัยใหม่ รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม เศรษฐกิจและผู้บริโภคในภาคเหนือ ผลจากการวิจัยในครั้งนี้สามารถสร้างองค์ความรู้ด้าน 1) การเพิ่มศักยภาพการผลิตการพัฒนาฟาร์ม ต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบปิด 2) การพัฒนาระบบเพิ่มออกซิเจนและการหมุนเวียนของน้ำที่เหมาะสม 3) การจัดการการลดแอมโมเนียในการเลี้ยงปลากะพงในระบบปิดแบบน้ำหมุนเวียน 4) การเสริมสารจากเปลือกมะละกอและเปลือกสับปะรดเพื่อเพิ่มผลผลิตปลากะพงและปลากดหลวงเชิงพาณิชย์ 5) การพัฒนาการผลิตปลาบึกลูกผสมจากการเหนี่ยวนำโครโมโซมและระบบไบโอฟลอค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 6) การลดกลิ่นสาบโคลนเพื่อเพิ่มคุณภาพเนื้อปลาทับทิมในระบบไบโอฟลอค 7) การพัฒนาวิธีการลดของเสียในบ่อเลี้ยงปลาทับทิมระบบไบโอฟลอคโดย ระบบอควาโปนิกส์(Aquaponics) 8) การยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำ: การลดการสะสมของสารที่ก่อให้เกิดกลิ่นสาบโคลนในเนื้อปลาทับทิมที่เลี้ยงแบบไบโอฟลอค (BIOFLOC) ด้วยการควบคุม C:N ratio และ การเลี้ยงแบบน้ำใสก่อนจับขาย และ 9) การเพิ่มศักยภาพการผลิตสาหร่ายเตาด้วยระบบปิดหมุนเวียนน้ำแบบถาดยกทีใช้ เทคโนโลยี Precision farming ผ่าน smart phone องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ได้นำไปตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในและต่างประเทศ ได้จดอนุสิทธิบัตร ได้สร้างนักวิจัยระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา และได้ถ่ายทอดผ่านสื่อสู่เกษตรกรทั่วประเทศ โครงการนี้ได้ตอบสนองความต้องการของเกษตรกรเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำที่ยั่งยืน

คำสำคัญ : เกษตรอัจฉริยะ; ไอโอที ; ระบบปิด , ออกซิเจน , ความหนาแน่น , ระบบไบโอฟลอค , ระบบอควาโปนิกส์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Innovation of the economic aquatic production system in 4.0 for the Northern Thailand food industry
Abstract :

The situation of food demand tends to be higher, leading farmers to adapt and develop new innovation with less space, high-yield and environmentally friendly farming systems. The aims of this research program were to undertake researches related to innovative aquaculture and suitable technology that can meet the needs in the northern area especially, a closed system that is a land base aquaculture that uses precision technology that controls precision. The results of this research could build a body of knowledge in ; 1) enhancing production capacity, farm development using smart aquaculture on the IoT system, 2) development of suitable oxygenation and water circulation system, 3) ammonia reduction management in closed water recirculating system, 4) application of apaya peel and pineapple peel to increase yield of sea bass and catfish, 5) development of hybrid catfish production based using chromosomal induction, 6) fish yield increase by bio-balancing in the biofloc system, 7) development of waste reduction methods in the fish ponds by aquaponics, 8) Quality improvement of aquatic Productivity by reducing of muddy odors biofloc by controlling of C: N ratio and 9) increasing the production potential of Spirogyra algae with a closed water recirculation system using precision farming technology. These knowledge had been published both in national and international level. Four petty patents had been proposed and this program could create new researchers both undergraduate and graduate students. In addition, this program could assist the farmers over the part of Thailand. Therefore, this research program has successfully undertaken in researches related to innovative aquaculture and suitable technology that can meet the farmers needs.

Keyword : smart farm; Internet of Thing; closed systems, oxygen, densities, Biofloc system, Aquaponic system
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.นิวุฒิ หวังชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
741,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 741,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
11 สิงหาคม 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : Science of The Total Environment
ฉบับที่ : 801
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร : Elsevier
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023