การบูรณาการโบราณสถานวัดร้างเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองเก่าเชียงแสนอย่างยั่งยืน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-003
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การบูรณาการโบราณสถานวัดร้างเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองเก่าเชียงแสนอย่างยั่งยืน
บทคัดย่อ :

แผนงานเรื่อง “การบูรณาการโบราณสถานวัดร้างเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองเก่าเชียงแสนอย่างยั่งยืน” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการปรับปรุงวัดร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมใหม่ของเมืองเชียงแสน ศักยภาพการพัฒนาวัดร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เหมาะสมต่อการเป็นเมืองมรดกโลกในอนาคต การปรับปรุงวัดร้างให้เหมาะสมกับการดารงอยู่ที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงได้ด้วยการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและเฉพาะกลุ่ม ศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวตามตาแหน่งวัดร้างที่สอดคล้องกับแหล่งเที่ยวหลักที่เป็นวัดสาคัญเดิม และศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาสื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมข้อมูลและตาแหน่งของวัดร้างในแง่มุมต่างๆเพื่อการท่องเที่ยว

จึงประกอบด้วยโครงการย่อย3โครงการ ได้แก่

โครงการย่อยที่1 “แนวทางพัฒนาทางกายภาพวัดร้างเพื่อเมืองเก่าเชียงแสนที่มีชีวิต” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ตามความหมายคุณค่าที่แท้จริงของโบราณสถานทางศาสนา ศึกษาความเป็นไปได้ในการแสดงแบบจาลองทั้งดั้งเดิมและปรับปรุง เพื่อสนับสนุนฐานข้อมูลที่ซ้อนทับอดีต-ปัจจุบัน-อนาคตของแหล่งท่องเที่ยวเมืองเชียงแสน ให้เชื่อมโยงกับพื้นที่จริงGPS online ศักยภาพการพัฒนาทางกายภาพที่สอดคล้องกับบริบทและผู้ใช้ปัจจุบันหลายทางเลือก เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวสู่การเป็นเมืองมรดกโลกในอนาคต การปรับปรุงวัดร้างให้เหมาะสมกับการดารงอยู่ที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงได้ด้วยการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและเฉพาะกลุ่ม แสดงภาพสมบูรณ์เปรียบเทียบผ่านการสื่อความหมายหลายรูปแบบ บนพื้นที่จริงแบบ3มิติ และการพัฒนาการสื่อความหมายหลายรูปแบบ แสดงเส้นทางท่องเที่ยวตามตาแหน่งวัดร้างที่สอดคล้องกับแหล่งเที่ยวหลักที่เป็นวัดสาคัญเดิม

โครงการย่อยที่2 “การสื่อความหมายวัดร้างในเมืองเก่าเชียงแสนเพื่อการท่องเที่ยว” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาสื่อความหมายคุณค่าที่แท้จริงของโบราณสถานทางศาสนา ในแง่มุมต่างๆ เพื่อการท่องเที่ยว ศึกษาความเป็นไปได้ในการออกแบบการสื่อความหมายหลายรูปแบบ เพื่อสนับสนุนฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเมืองเชียงแสน ให้เชื่อมโยงกับพื้นที่จริงGPS online ศักยภาพการพัฒนาการสื่อความหมายหลายรูปแบบ เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวสู่การเป็นเมืองมรดกโลกในอนาคต การปรับปรุงวัดร้างให้เหมาะสมกับการดารงอยู่ที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงได้ด้วยการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและเฉพาะกลุ่ม แสดงภาพสมบูรณ์เปรียบเทียบผ่านการสื่อความหมายหลายรูปแบบ บนพื้นที่จริงแบบ3มิติ และการพัฒนาการสื่อความหมายหลายรูปแบบ แสดงเส้นทางท่องเที่ยวตามตาแหน่งวัดร้างที่สอดคล้องกับแหล่งเที่ยวหลักที่เป็นวัดสาคัญเดิม

โครงการย่อยที่3 “การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนพื้นที่จริง” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาสื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมข้อมูลและตาแหน่งของวัดร้างในแง่มุมต่างๆ เพื่อการท่องเที่ยว ความเป็นไปได้ในการใช้แอปพลิเคชันสนับสนุนฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเมืองเชียงแสน แบบเชื่อมโยงกับพื้นที่จริง GPS online ศักยภาพการพัฒนาแอปพลิเคชันส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเป็นเมืองมรดกโลกในอนาคต รวมถึงการปรับปรุงวัดร้างให้เหมาะสมกับการดารงอยู่ที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงได้ด้วยการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและเฉพาะกลุ่ม แสดงภาพสมบูรณ์เปรียบเทียบผ่านแอปพลิเคชันบนพื้นที่จริงแบบ 3 มิติ นาไปสู่การพัฒนาแอปพลิเคชันแสดงเส้นทางท่องเที่ยวตามตาแหน่งวัดร้างที่สอดคล้องกับแหล่งเที่ยวหลักที่เป็นวัดสาคัญเดิม

คำสำคัญ : วัดร้าง , พื้นที่สาธารณะ , เมืองเก่า , ความยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Integration of Chiang Saen Abandoned Monasteries for Sustainable Tourism Promotion in Ancient City
Abstract :

Objectives of the research project “Integration of Chiang Saen Abandoned Monasteries for Sustainable Tourism Promotion in Ancient City” are study potential development abandoned monasteries to become new tourist attractions in town, future World Heritage, useful with changed urban contexts, linkable specific and qualitative tourism, tourist routes with neaby remarkable monasteries, and lastly study potential development of online medias in data and locations for tourism.

The research is included 3 researches as follow;

1st research is “Physical Development Guidelines of Chiang Saen Abandoned Monasteries for Living Ancient City.” , objectives of the research are study possibility in adaptable physical surrounding with true sacred place significanses, study referenced model to originality database support with intaglitive past-present-future interpretation, linkable to GPS online realtime, potential in context physical development compatibility toward the Word Heritage planning, redevelopment selected abandoned monasteries to present context with specific and qualitative tourism, present various 3D interpretation on sites, and lastly design tourist routes with neaby remarkable monasteries.

2nd research is “Interpretation of Chiang Saen Abandoned Monasteries for Ancient City Tourism” , objectives of the research are study possiblility in interpreatation media to truly sacred place significances for tourism, to create various interpreatation medias for Chiang Saen tourism supplementary that linkable to the GPS online realtime, potential in various interpretations toward the Worldl Heritage supplimentay, redevelopment selected abandoned monasteries to present context with specific and qualitative tourism, present various 3D interpretation on sites, and lastly design tourist routes with neaby remarkable monasteries.

3rd research is “Application Development for Tourism Promotion in Actual Sites” , objectives of the research are study possiblility in online medias to data base and location supplementaty realtime for tourists, potential in tourist application toward the Worldl Heritage supplimentay, redevelopment selected abandoned monasteries to present context with specific and qualitative tourism, present various 3D application comparative on sites, and lastly design linkable application tourist routes menu to neaby remarkable monasteries.

Keyword : abandoned monastery, public area, old town, sustainability
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แทนวุธธา ไทยสันทัด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
45 ไม่ระบุ
2 นางสาวนันทวรรณ ม่วงใหญ่
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 น.ส.กาญจนา ชิดทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 นายอำนาจ ชิดทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม / สำนักงานคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม / งานบริหารและธุรการ
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
264,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 264,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023