การผลิตเอทานอลจากกากเหลือทิ้งกระบวนการแปรรูปหัวหอมแขก

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-033.5
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตเอทานอลจากกากเหลือทิ้งกระบวนการแปรรูปหัวหอมแขก
บทคัดย่อ :

กากหอมเป็นของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตน้าเชื่อมจากหัวหอม องค์ประกอบหนึ่งของของเหลือทิ้งนี้คือเซลลูโลส ซึ่งเซลลูโลสนี้สามารถย่อยให้เป็นน้าตาลเพื่อนาไปใช้หมักเอทานอลได้ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการผลิตเอทานอลจากกากหอมแขก โดยนากากหอมแขกนี้มาย่อยโดยวิธีการทางเคมี (ใช้ NaOH และ HCl) และทางชีวภาพ (ใช้เอนไซม์เซลลูเลส) และผลิตเป็นเอทานอลโดยการหมัก จากการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยคือ การย่อยกากหอมแขกด้วยกรด HCl ความเข้มข้นร้อยละ 3.0 (v/v) ร่วมกับการใช้ความร้อน 121 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที ภายหลังจากการย่อยด้วยกรด นาไปบ่มต่อด้วยเอนไซม์เซลลูเลส 12,000 หน่วยต่อมิลลิลิตร ที่ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชั่วโมง พบว่าสามารถให้น้าตาลรีดิวซ์ได้ 3.75 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร จากนั้นนาน้าตาลที่ได้ไปทาให้เข้มข้นขึ้นเป็น 20 บริกซ์ เพื่อใช้ในการหมักเอทานอล โดยเติมสารสกัดจากยีสต์ 10 กรัมต่อมิลลิลิตร, ยูเรีย 6.4 กรัมต่อมิลลิลิตร, KH2PO4 1 กรัมต่อมิลลิลิตร และ MgSO4.7H20 10 กรัมต่อมิลลิลิตร ถ่ายยีสต์ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 จานวน 3.24 ? 106 เซลล์ต่อมิลลิลิตร จากการหมักพบว่าปริมาณเอทานอลสูงสุดคือ ร้อยละ 5 (v/v) ในวันที่ 3 ของการทดลอง

คำสำคัญ : กากหอม ไฮโดรไลซิส เซลลูเลส การหมัก เอทานอล
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Ethanol production from residue obtained from Hom-kaek syrup processing
Abstract :

Onion residue is a waste from onion syrup process. Cellulose is a component of the wastes which could be hydrolyzed to fermentable sugar for ethanol production. The aim of this research is to produce ethanol from onion (Hom-kaek) residue. Onion waste was hydrolyzed by chemical (NaOH and HCl) and biological (cellulase) and produce to ethanol by fermentation. The results found that the optimal conditions for hydrolysis were 3.0 % HCl with heating at 121 oC for 60 min. After acid hydrolysis, the onion waste was then incubated by cellulase with 12,000 U/ml at 30 oC for 3 hours released reducing sugar 3.75 mg/ml. Fermentation, the reducing sugar was concentrated to 20 oBrix for ethanol fermentation, yeast extract 10 g/ml, urea 6.4 g/ml, KH2PO4 1 g/ml and MgSO4.7H20 10 g/ml were added. Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 with 3.24 ? 106 cell/ml was cultured. Highest alcohol content with 5% (v/v) was produced at day 3 of cultivation

Keyword : Onion residue, Hydrolysis, Cellulase, Fermentation, Ethanol
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.จุฑามาศ มณีวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
90 ไม่ระบุ
2 น.ส.รุ่งทิพย์ กาวารี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
405,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 405,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023