การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) และผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์จากหอมแขก

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-033.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) และผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์จากหอมแขก
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี??มีวัตถุประสงค์เพื??อศึกษาฤทธิ?? ทางชีวภาพของสารสกัดนํ??าหัวหอมแขกสด (F)

สารสกัดผลิตภัณฑ์นํ??าเชื??อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ (H) และสารสกัดผลิตภัณฑ์นํ??าเชื??อมฟรุกโต-

โอลิโกแซคคาไรด์ที??ผ่านตัวดูดซับ (HC) โดยทดสอบฤทธิ??ต้านแบคทีเรีย พบว่า สารสกัด F ใน 10%

DMSO สามารถยับยั??งและฆ่าเชื??อ Bacillus cereus ได้ดีที??สุด รองลงมาคือ สารสกัด F ใน 80%

Methanol และนํ??าหัวหอมแขกสด โดยมีค่า MIC/MBC เท่ากับ 4.18/3.15, 5.22/3.15 และ 7.03/12.5

mg/mL ตามลำดับ การทดสอบปริมาณสารประกอบฟีนอลิครวม พบว่า สารประกอบฟีนอลิครวม

ของสารสกัด H มีปริมาณมากที??สุด รองลงมาคือ สารสกัด F และสารสกัด HC มีค่า GAE เท่ากับ

0.73?0.11, 0.89?0.12, 0.19?0.07 mg/g FW ตามลำดับ การวิเคราะห์ฤทธิ?? การต้านอนุมูลอิสระ

ด้วยวิธี FRAP, DPPH, ABTS พบว่า สารสกัด H มีฤทธิ??ต้านอนุมูลอิสระสูงที??สุด รองลงมาคือ สาร

สกัด F และสารสกัด HC โดยมีค่า EC1 เท่ากับ 2.28?0.06, 1.53?0.05, 0.56?0.02 mM/g FW มีค่า

IC50 เท่า กับ 0.13?0.00, 0.18?0.00 แ ล ะ 0.31?0.01 mg/g FW แ ล ะ มีค่า TEAC เท่า กับ

448.18?0.57, 520.56?25.37 และ 555.60?2.47 mg/g FW ตามลำดับ การทดสอบฤทธิ?? ต้านการ

อักเสบ พบว่า ที??ความเข้มข้น 1,000 ?g/mL สารสกัด H (IC50 = 15.7 ?g/mL) และสารสกัด HC (IC50

= 25.5 ?g/mL) ยับยั??งการหลัง?? Cytokine IL-6 ได้ไม่แตกต่างจาก สารมาตรฐาน Dexamethasone ที??

ความเข้มข้น 250 ?g/mL (IC50 = 79.4 ?g/mL) นอกจากนี?? ยังพบว่า ที??ความเข้มข้น 1,000 ?g/mL

สารสกัด H (IC50 = 28.5 ?g/mL) และสารสกัด HC (IC50 = 48.6 ?g/mL) ยับยั??งการหลั??ง Cytokine

TNF-? ได้ไม่แตกต่างจาก สารมาตรฐาน Dexamethasone ที??ความเข้มข้น 250 ?g/mL (IC50 =

43.3 ?g/mL) และการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ (Cytotoxicity) ของสารสกัดหัวหอมแขก ต่อเซลล์ผิวหนังมนุษย์ชนิดไฟโบรบลาสต์ (WS1) และเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ (Caco2) ด้วยวิธี MTT

assay โดยใช้ความเข้มข้น 6 ระดับ คือ 31.25, 62.50, 125, 500 และ 1,000 mg/mL และทดสอบนาน

24 ชั??วโมง พบว่า สารสกัด HC ก่อให้เกิดความเป็นพิษตํ??าสุดทั??งต่อเซลล์ WS1 และเซลล์ Caco2 สาร

สกัด F มีแนวโน้มเกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ WS1 สูงที??สุด (IC50 = 250.00 ? 0.00 mg/mL และสาร

สกัด H เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ Caco2 สูงที??สุด IC50 = 214.93 ? 0.39 mg/mL นํ??าคั??นหัวหอมแขก

ที??ผ่านกระบวนการให้ความร้อน โดยการทำเป็นผลิตภัณฑ์นํ??าเชื??อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ มีผล

ทำให้ปริมาณสารประกอบฟี นอลิครวมและฤทธิ??การต้านอนุมูลอิสระสูงขึ??น ที??ความเข้มข้น 1,000

?g/mL สามารถยับยั??งการหลัง?? Cytokine IL-6 และ cytokine TNF-? ได้ และเกิดความเป็นพิษต่อ

เซลล์ WS1 และเซลล์ Caco2 ตํ??า แสดงให้เห็นว่าน่าจะนำหัวหอมแขกผ่านกระบวนการให้ความร้อน

ในการทำอาหาร หรือแปรรูปเพื??อทำผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ โดยไม่สูญเสียสารสำคัญที??ออกฤทธิ??ทาง

ชีวภาพ

คำสำคัญ : หอมแขก , ฤทธิ?? ทางชีวภาพ , ฤทธิ?? ต้านเชื??อแบคทีเรีย , ฤทธ??ิต้านอนุมูลอิสระ , ฤทธิ?? ต้านการอักเสบ , การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Study of Biological Activities of Hom-keak Onion (Allium cepa var. viviparum) and Fructooligosaccharide Syrup Prepared from Hom-keak
Abstract :

This research aims to examine the biological activities of fresh onion extract (F),

fructooligosaccharide syrup extract (H), and absorbent fructooligosaccharide syrup extract (HC).

We found that the F extract could inhibit and kill Bacillus cereus. The MIC/MBC values of the F

extract in 10% DMSO, F extract in 80% methanol, and fresh onion juice were 4 .1 8 / 3 .1 5 ,

5.22/3.15, and 7.03/12.50 mg/mL, respectively. The highest total phenolic content was found in

the H extract followed by the F and the HC extracts with GAE values of 0.73?0.11, 0.89?0.12,

and 0.19?0.07 mg/g FW, respectively. The antioxidant activity was investigated using FRAP,

DPPH, and ABTS assays. It was found that H extract had the highest antioxidant activity

followed by F and HC extracts with EC1 values of 2.28?0.06, 1.53?0.05, and 0.56?0.02 mM/g

FW, respectively. The IC50 values were 0.13?0.00, 0.18?0.00, and 0.31?0.01 mg/g FW; and the

TEAC values were 448.18?0.57, 520.56?25.37, and 555.60?2.47 mg/g FW, respectively. In an

assay for the anti-inflammatory effects, we found that 1,000 ?g/mL of the H extract (IC50 = 15.7

?g/mL) and the HC extract (IC50 = 25.5 ?g/mL) inhibited the cytokine IL-6 secretion comparably

to 250 ?g/mL of the Dexamethasone standard (IC50 = 79.4 ?g/mL). Inhibition of TNF-? by the

HC extract (IC50 = 48.6 ?g/mL) was also not different from 250 ?g/mL Dexamethasone (IC50 =

43.3 ?g/mL). The cytotoxicity of the onion extract on human skin cells type fibroblasts (WS1)

and colon cancer cells (Caco2 ) were evaluated using MTT assay with the following six

concentrations: 31.25, 62.50, 125, 500, and 1,000 mg/mL for 24 hours. While the HC extract had

the lowest toxicity on both WS1 and Caco2 cells, the F extract had the highest toxicity on WS1

(IC50 = 250.00 ? 0.00 mg/mL). Lastly, the H extract on Caco2 possessed the IC50 value of 214.93

? 0.39 mg/mL. The onion juice heated in the process of making fructooligosaccharide syrup had

higher amount of total phenolic content and antioxidant activity at the concentration of 1 ,0 0 0

?g/mL. The heated juice could inhibit the cytokine IL-6 and cytokine TNF-? secretion and

exhibited low toxicity to WS1 and Caco2 cells. The result indicated that the onion can be cooked

or subject to heat during food processing without a loss of bioactive compounds.

Keyword : Allium cepa var. viviparum, biological activities, antimicrobial activity, antioxidant activity, anti-inflammatory, cytotoxicity
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 น.ส.รุ่งทิพย์ กาวารี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.สมคิด ดีจริง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
450,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 450,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023