การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) เพื่อเป็นอาหารสุขภาพ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-033
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) เพื่อเป็นอาหารสุขภาพ
บทคัดย่อ :

หอมแขก มีคุณสมบัติเป็นอาหารเชิงหน้าที่ งานวิจัยนี้เพื่อที่พัฒนาการผลิตหอมแขกและน้าเชื่อมหอมแขก ประกอบโครงการดังนี้ 1) การพัฒนาระบบการผลิตต้นพันธุ์หัวหอมแขกจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2) การพัฒนากระบวนการผลิตน้าเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์เข้มข้นจากหัวหอมแขก ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม 3) การประเมินความเป็นพรีไบโอติกของน้าเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์จากหัวหอมแขกในแบบจาลองทางเดินอาหารมนุษย์ 4) การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวหอมแขกและผลิตภัณฑ์น้าเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์จากหอมแขก 5) การผลิตเอทานอลจากกากเหลือทิ้งกระบวนการแปรรูปหัวหอมแขกการพัฒนาระบบการผลิตต้นพันธุ์หัวหอมหัวแขกจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนต่าง ๆ ของการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในขั้นตอนการชักนาให้เกิดยอดในสภาพปลอดเชื้อพบว่า การแช่ชิ้นส่วนหัวใน mercuric chloride 0.1% หรือ silver nitrate 1% นาน 20 นาที พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ต่า การผ่าหัว 8 ส่วน สามารถชักนาให้เกิดยอดต่อชิ้นส่วนและมีจานวนยอดต่อหัวมากที่สุด 1.31 และ 6.40 ตามลาดับ การเติม indole-3-butyric acid (IBA) มิลลิกรัมต่อลิตร มีความเหมาะสมในการชักนาให้ออกราก ซึ่งมีอัตราการออกรากสูง 87.67% และมีจานวนรากมากที่สุด ในขั้นตอนการปรับสภาพและย้ายปลูกในโรงเรือน พบว่า ต้นชักนาการออกรากเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ มีอัตราการรอดชีวิตเมื่อย้ายปลูกในโรงเรือนสูงที่สุด 85.71% การย้ายปลูกต้นในวัสดุปลูก ดินร่วน ทราย ขี้เถ้าแกลบ และพีทมอส (1:1:3:3) ทาให้ต้นมีอัตราการรอดชีวิตสูงที่สุด รวมทั้งต้นมีการเจริญเติบโตสูงสุด

ในการพัฒนากระบวนการผลิตน้าเชื่อม fructooligosaccharide (FOS) ในระดับกึ่งอุตสาหกรรมจากหัวหอมและศึกษาคุณสมบัติทางเคมี กายภาย และชีวภาพบางประการของผลิตภัณฑ์จากกระบวนการที่พัฒนาขึ้น ผลการศึกษาพบว่าหัวหอมมีน้าตาลเป็นองค์ประกอบคิดเป็นร้อยละ 7.5 โดยน้าหนักสด หรือร้อยละ 22.8 โดยน้าหนักแห้งและมีโอลิโกแซคคาไรด์เป็นองค์ประกอบ พบการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ยีสต์ และเชื้อราบนพื้นผิวหัวหอม แต่การเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สามารถควบคุมการเจริญของจุลินทรีย์เหล่านี้ได้ โครงการได้ประสบความสาเร็จในการประดิษฐ์อุปกรณ์สาหรับหน่วยล้างหัวหอม คั้นน้าหัวหอม และกรองกากน้าหัวหอม โดยเครื่องล้างเป็นระบบน้าวน ล้างวัตถุดิบได้ครั้งละมากกว่า 20 กิโลกรัม และเมื่อใช้สารละลาย sodium hypochlorite 50 ppm ร่วมในการล้างทาให้สามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้เกือบทั้งหมดภายในเวลา 4 นาที ในขณะที่เครื่องคั้นน้าหัวหอมสามารถทางานได้ในอัตรา 8.3 กิโลกรัม/ชั่วโมง เครื่องกรองกากหัวหอมสามารถทางานได้ในอัตรา 6.5 ลิตร/ชั่วโมง โดยของเหลวที่ผ่านการกรองนี้ มีความใสมากขึ้นร้อยละ 80

ในการประเมินความเป็นพรีไบโอติกของน้าเชื่อม FOS จากหัวหอมแขกในแบบจาลองทางเดินอาหารมนุษย์ สารที่มีสมบัติเป็นสารพรีไบโอติกต้องทนทานต่อการย่อยในระบบทางเดินอาหารของโฮสต์และต้องหมักได้อย่างจาเพาะโดยจุลินทรีย์ในลาไส้ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของโฮสต์ผลการประเมินการย่อยได้พบว่าน้าเชื่อม FOS สามารถทนทานต่อสภาวะจาลองในปาก กระเพาะอาหาร และลาไส้เล็กได้ จากการทดลองพบว่า แบคทีเรียโพรไบโอติกกลุ่ม lactobacilli สามารถหมักน้าเชื่อม FOS ได้อย่างจาเพาะเจาะจง และมีแบบแผนการเจริญที่เหมือนกับแบบแผนการเจริญที่ได้จากการเลี้ยงจุลินทรีย์ด้วยกลูโคส ฟรุกโตสและซูโครส การหมักน้าเชื่อม FOS ในระบบจาลองทางเดินอาหารของมนุษย์ใช้อุจจาระจากทารกสุขภาพดีเป็นตัวแทนของหัวเชื้อจากธรรมชาติ ผลการทดลองพบว่า แบคทีเรียหลักที่ถูกคัดเลือกด้วย inulin-FOSs คือ ไฟลัม Actinobacteria เช่น Bifidobacterium sp. และจานวนเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนโดยตรงกับเวลา ผลการทดลองยังพบว่า แหล่งคาร์บอนหลักของการหมักน้าเชื่อม FOS ในระบบจาลองทางเดินอาหารมนุษย์ ได้แก่ กลูโคส ฟรุกโตส และซูโครสปนมากับน้าเชื่อม FOS หลังจากขั้นตอนการทาบริสุทธิ์ และฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์สายสั้น 2 ชนิด ได้แก่ คีสโตส และน้าตาลที่ไม่สามารถจาแนกโครงสร้างได้ซึ่งมีขั้วใกล้เคียงกับคีสโตส เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค TLC

เมื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดน้าหัวหอมแขกสด (F) สารสกัดผลิตภัณฑ์น้าเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ (H) และสารสกัดผลิตภัณฑ์น้าเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ผ่านตัวดูดซับ (HC) เมื่อทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย พบว่าสารสกัด F ใน 10% DMSO สามารถยับยั้งและฆ่าเชื้อ Bacillus cereus ได้ดีที่สุด การวิเคราะห์ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ สารสกัด H มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด การทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบ พบว่า สารสกัด H และสารสกัด HC ยับยั้งการหลั่ง Cytokine IL-6 และการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ (Cytotoxicity) ของสารสกัดหัวหอมแขก ต่อเซลล์ผิวหนังมนุษย์ชนิดไฟโบรบลาสต์ และเซลล์มะเร็งลาไส้ใหญ่ พบว่าสารสกัด F มีแนวโน้มเกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ผิวหนังมนุษย์ชนิดไฟโบรบลาสต์สูงที่สุด และสารสกัด H เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งลาไส้ใหญ่สูงที่สุด

เมื่อนาของเหลือทิ้งจากการผลิตน้าเชื่อม FOS คือกากหอมแขก มาผลิตเอทานอลโดยนากากหอมแขกมาย่อยโดยวิธีการทางเคมี (ใช้ NaOH และ HCl) และทางชีวภาพ (ใช้เอนไซม์เซลลูเลส) และผลิตเป็นเอทานอลโดยการหมัก จากการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยคือ การย่อยกากหอมแขกด้วยกรด HCl ความเข้มข้นร้อยละ 3.0 (v/v) ร่วมกับการใช้ความร้อน 121 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที ภายหลังจากการย่อยด้วยกรด นาไปบ่มต่อด้วยเอนไซม์เซลลูเลส 12,000 หน่วยต่อมิลลิลิตร ที่ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชั่วโมง พบว่าสามารถให้น้าตาลรีดิวซ์ได้ 3.75 มิลลิกรัมต่อมิลิลิตร จากนั้นนาน้าตาลที่ได้ไปทาให้เข้มข้นขึ้นเป็น 20 บริกซ์ เพื่อใช้ในการหมักเอทานอลโดยเติมสารสกัดจากยีสต์ 10 กรัมต่อมิลลิลิตร, ยูเรีย 6.4 กรัมต่อมิลลิลิตร, KH2PO4 1 กรัมต่อมิลลิลิตร และ MgSO4.7H20 10 กรัมต่อมิลลิลิตร ถ่ายยีสต์ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 จานวน 3.24 ? 106 เซลล์ต่อมิลลิลิตร จากการหมักพบว่าปริมาณเอทานอลสูงสุดคือ ร้อยละ 5 (v/v) ในวันที่ 3 ของการเลี้ยง

คำสำคัญ : หัวหอมแขก การขยายพันธุ์พืชด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ พรีไบโอติกส์ อาหารฟังก์ชั่น ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ เอทานอล การย่อยสลาย การหมัก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Production development and utilization of Hom-kaek onion (Allium cepa var. viviparum) as functional foods
Abstract :

Hom-keak onion (Allium cepa var. viviparum) has a high potential to serve as a functional food. This research developed 1) production of Hom-keak onion by tissue culture technique 2) production of concentrated fructooligosaccharide syrup from Hom-kaek onion 3) evaluation of the prebiotic properties of Hom-kaek onion fructooligosacchride syrup in simulating human gut model 4) examination of biological activities of Hom-kaek onion 5) Ethanol production from residue obtained from Hom-kaek syrup processing.

Production of Hom-keak onion by tissue culture technique, initiation phase, onion bulbs were sterilized using 25% Clorox?, 0.1% mercuric chloride, 1% silver nitrate, or 6% hydrogen. cutting the onion bulb into 8 sections, the averages of 1.31 shoots per explant and 6.4 shoots per initial bulb were observed. The modified semi-solid MS medium with 1.0 mg/L indole-3-butyric acid (IBA) was the most efficient for root induction and two weeks of root induction period prior to the plantlet transfer was the most optimal time, yielding an 85.71% survival rate. Additionally, the different planting materials were compared. It was found that the latter formula (1:1:3:3 loam: sand: rice husk ash: peat moss) led to the highest survival rates of the onion plantlets and the highest growth.

Development of the semi-industrial production of fructooligosaccharide syrup (FOS) from onion and study chemical, physical and some biological properties of the developed product. Results showed that the sugar content of onion was 7.5% fresh weight, or 22.8% dry weight, and was rich with oligosaccharides. Bacteria, yeasts and molds were contaminated on onion’s surface, but the growth of microorganisms was controlled by cold temperature (4?C). This project was successfully developing the equipment for cleaning, pressing, and screening. The capacity of cleaning machine with whirlpool system was more than 20 kg/batch. Most of microorganisms were killed in 4 minutes when sodium hypochlorite solution (50 ppm) was associated in cleaning step. The operating rate ofthe pressing and screening machines was 8.3 kg/hr and 6.5 l/hr. Clarity of onion juice was increased (80%) after screening.

Hom-kaek onion fructooligosacchride syrup was used as prebiotic substance and evaluated prebiotic properties in simulating human gut model. The digestibility evaluation results revealed that fructooligosacchride syrup were resistant toward the simulated oral, gastric, and intestinal conditions. Fermentation of the fructooligosacchride syrup in human gut model was conducted using fecal slurry from healthy infant as the representative of natural inoculum. The results found that the most abundance bacteria which were selectively simulated by the fructooligosacchride syrup belonged to phylum Actinobacteria such as Bifidobacterium sp. Moreover, the results revealed that the major fermentative carbon sources were the contaminated glucose, fructose and sucrose, the retained residues after the purification of fructooligosacchride syrup, two different fructooligosacchrides including kestose and an unidentified saccharide with a polarity that is closely related to kestose as judged by TLC technique.

Biological activities of fresh onion extract (F), fructooligosaccharide syrup extract (H), and absorbent fructooligosaccharide syrup extract (HC) were examined. The result found that F extract could inhibit Bacillus cereus. The H extract showed highest total phenolic content and highest antioxidant activity. In an assay for the anti-inflammatory effects, we found that 1,000 ?g/mL of the H extract and the HC extract inhibited the cytokine IL-6 secretion. The cytotoxicity of the onion extract on human skin cells type fibroblasts (WS1) and colon cancer cells (Caco2) were evaluated. The HC extract had the lowest toxicity on both WS1 and Caco2 cells, the F extract had the highest toxicity on WS1. The heated juice was also studied, cytokine IL-6 and cytokine TNF-? secretion was exhibited by the juice. The juice exhibited low toxicity to WS1 and Caco2 cells. The result indicated that the onion can be cooked or subject to heat during food processing without a loss of bioactive compounds.Onion residue is a waste from onion syrup process. Cellulose is a component of the wastes which could be hydrolyzed to fermentable sugar for ethanol production. The optimal conditions for onion waste hydrolysis were 3.0 % HCl with heating at 121 oC for 60 min. After acid hydrolysis, the onion waste was then incubated by cellulase with 12,000 U/ml at 30 oC for 3 hours released reducing sugar 3.75 mg/ml. Fermentation, the reducing sugar was concentrated to 20 oBrix for ethanol fermentation, yeast extract 10 g/ml, urea 6.4 g/ml, KH2PO4 1 g/ml and MgSO4.7H20 10 g/ml were added. Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 with 3.24 ? 106 cell/ml was cultured. Highest alcohol content with 5% (v/v) was produced at day 3 of cultivation.

Keyword : Allium cepa var. viviparum, micropropagation, fructooligosaccharides, prebiotic, functional food, antimicrobial activity, antioxidant activity, anti-inflammatory, cytotoxicity, ethanol, hydrolysis, fermentation
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.จุฑามาศ มณีวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
18 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
13 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.สมคิด ดีจริง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
13 ไม่ระบุ
4 น.ส.รุ่งทิพย์ กาวารี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
13 ไม่ระบุ
5 นายอภินันท์ กันเปียงใจ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
13 ไม่ระบุ
6 น.ส.รังสิมา อัมพวัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร / กองบริหารงานบริการวิชาการ / งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืช และสัตว์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ภูมิสุทธาผล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
8 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีกาญจนา คล้ายเรือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
83,510.00
   รวมจำนวนเงิน : 83,510.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023