ประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางยาจากเห็ดถั่งเช่าสีทองต่อการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และการต้านโรคมะเร็งในเซลล์เพาะเลี้ยงและในหนูขาวหนูขาว

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-007.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางยาจากเห็ดถั่งเช่าสีทองต่อการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และการต้านโรคมะเร็งในเซลล์เพาะเลี้ยงและในหนูขาวหนูขาว
บทคัดย่อ :

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางยาจากเห็ดถั่งเช่าสีทองต่อการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและการต้านโรคมะเร็งในเซลล์เพาะเลี้ยงและในหนูขาว การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรก การวัดคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลองพบว่า สารสกัดจากเห็ดถั่งเช่าสีทองที่สกัดหยาบมีสารต้านอนุมูลอิสระเท่ากับ 63.3?2.1 mgAAE/g extract และเมื่อนาไปทดสอบผลต่อการยับยั้งเซลล์มะเร็ง 2 ชนิด คือ เซลล์มะเร็งตับ และเซลล์มะเร็งลาไส้ ด้วยวิธี MTT test พบว่า สารสกัดหยาบจากเห็ดถั่งเช่ามีอัตรายับยั้งเซลล์มะเร็งตับได้สูงที่สุดที่ 29.61?1.87% โดยมีค่า IC50 ที่ความเข้มข้น 2.329 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และมีอัตราการยับยั้งเซลล์มะเร็งลาไส้ได้สูงที่สุดที่ 51.65?4.07% โดยมีค่า IC50 ที่ความเข้มข้น 0.873 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ช่วงที่ 2 การนาไปทดสอบในหนูขาว เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันความเสียหายต่อเซลล์ตับ แบ่งการทดลองออกเป็น 6 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 หนูปกติ กลุ่มที่ 2-6 ได้รับสาร CCL4 เพื่อเหนี่ยวนาให้ตับเสียหาย โดยกลุ่มที่ 2 ทาการป้อนน้ากลั่น กลุ่มที่ 3-5 ทาการป้อนสารสกัดปริมาณ 12.5, 25 และ 50 มิลลิกรัม/ตัว ต่อวัน เป็นระยะเวลา 30 วัน ส่วนกลุ่มที่ 6 ทาการป้อนยา Silymarin ขนาด 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้าหนักตัว ผลการศึกษาพบว่า การป้อนสารสกัดหยาบจากเห็ดถั่งเช่าที่ปริมาณ 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้าหนักตัว มีผลทาให้ระดับเอนไซม์ AST, ALT และ ALP มีค่าใกล้เคียงกับกลุ่มควบคุมปกติ ผลทางเนื้อเยื่อวิทยาของตับบ่งชี้ว่าช่วยให้เซลล์ตับที่ถูกทาลายกลับมาทางานได้ใกล้เคียงกับหนูปกติ และมีผลทาให้ระดับของสาร BUN และ Creatinine ไม่แตกต่างจากหนูปกติ และสารสกัดจากเห็ดถั่งเช่าทุกปริมาณจะช่วยให้ค่าทางโลหิตวิทยาของหนูเพิ่มขึ้นเทียบเท่าหนูปกติในทุกค่าที่วัด และการป้อนสารสกัดจากเห็ดถั่งเช่าทุกปริมาณไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดเซลล์เม็ดเลือดขาวในหนู ผลการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าสารสกัดจากเห็ดถั่งเช่ามีประสิทธิภาพทางยาในการยับยั้งเซลล์มะเร็ง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ที่มีคุณสมบัติทางยาช่วยในการป้องกันตับ และช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันให้หนูทดลอง

คำสำคัญ : ถั่งเช่าสีทอง , การกระตุ้นภูมิคุ้มกัน , กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระ , การยับยั้งเซลล์มะเร็ง , มะเร็งตับ และมะเร็งลาไส้
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Pharmaceutical efficacy of bioactive compounds from Cordyceps militaris on immunostimulation and anticancer: A study case in cell culture and Wistar rats.
Abstract :

The objective of this study was to investigate the efficacy of the active ingredient from Cordyceps militaris mushroom on immunization and cancer prevention in cultured cells and rats. the experiment was divided into 2 phases. Of antioxidants in vitro found that The extract of the Cordyceps militaris mushroom extract still constrains antioxidants with an IC50 value of 63?2.1 mgAAE/g extract and when tested for the effect of inhibiting on 2 cancer cell lines, Liver and Colon cancer cell lines with MTT test, the results were found that the crude extracts from the Cordyceps militaris mushroom had the highest rate of inhibiting liver cancer cells at 29.61 ? 1.87% with an IC50 value of 2.329 mg / ml. And the highest rate of inhibition of colon cancer cells at 51.65 ? 4.07% with IC50 at 0.873 mg / ml. Phase 2, Testing for rats. This study was conducted to discover the hepatoprotective. The experimental group was divided into 6 groups: group 1, normal rats, groups 2-6 received CCl4 to induce liver injury, with group 2 force fed with distilled water, groups 3-5 force fed with 12.5, 25 and 50 mg/kg/day for 30 days. Group 6 force fed with 100 mg/ kg Salymarin. The results was showed that Entering the crude extract from the Cordyceps militaris mushroom at 25 mg / kg body weight resulted in the levels of AST, ALT and ALP enzymes similar to those in the control group. The histological evidences of the liver indicate that helping the damaged liver cells return to function similar to normal rat. And resulting in the levels of BUN and Creatinine were not differenced from normal rat. And all the Cordyceps militaris mushroom extracts will increase the rats' hematologicalvalue equal to normal rats at all measured values. And the amount of the extract from Cordyceps militaris mushroom were not affected by the changes in the white blood cell types in rats. The results of this study concluded that the Cordyceps militaris mushroom extract has medicinal efficacy in inhibiting cancer cells. Is an antioxidant Which has medicinal properties helping to liver protective property and it could increase the immunity in rats

Keyword : Cordyceps militaris, Immunodulation, Antioxidative activity, Cancer cell inhibiting, Liver cancer cell, Colon cancer cell
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.วาที คงบรรทัด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.กนกพร แสนเพชร
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อ.ดร.สุภาพ แสนเพชร
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล ถิรบุญยานนท์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
787,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 787,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023