การประดิษฐ์เซนเซอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือตรวจวิเคราะห์สุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้นาโนเทคโนโลยีช่วยในการเสริมประสิทธิภาพสัญญาณ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-006
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประดิษฐ์เซนเซอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือตรวจวิเคราะห์สุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้นาโนเทคโนโลยีช่วยในการเสริมประสิทธิภาพสัญญาณ
บทคัดย่อ :

ชุดโครงการวิจัยประกอบด้วยโครงการย่อย 3 โครงการได้แก่ (1) การประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์ (2) การประดิษฐ์กลูโคสเซนเซอร์ และ (3) การประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์ โครงการแรกเป็นการประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์โดยใช้อนุภาคนาโนทอง (AuNPs) แอทคาร์บอนดอท (CDs) หุ้มด้วยไคโตซาน (CHIT) (AuNPs@CDs-CHIT) และตรึงทับด้วยเอนไซม์ไทโรซิเนส (Tyr) บนผิวหน้าขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอน (GCE) (Tyr/AuNPs@CDs-CHIT/GCE) โดยทดสอบในตัวอย่างเลือดพบว่าให้ค่าการใช้งานมากกว่า 35 ครั้ง สามารถทดสอบได้โดยง่าย ตัวอย่างเลือดไม่ต้องผ่านการแยกหรือการเติมสารใด ๆ โดปามีนไบโอเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นให้ค่าเปอร์เซนต์การย้อนกลับคืนในช่วง 96.00 – 98.80 เปอร์เซนต์ โครงการที่สองเป็นการประดิษฐ์กลูโคสเซนเซอร์โดยใช้ขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลและอนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนสังเคราะห์ได้อนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะคล้ายดอกกุหลาบ จากผลการทดลองพบว่าสามารถเร่งปฏิกิริยาการวิเคราะห์กลูโคสได้ดีโดยได้ค่าสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนเท่ากับ 1.59 ส่วนโครงการสุดท้ายเป็นการประดิษฐกรดยูริคเซนเซอร์โดยใช้โลหะทองแดง (Cu) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมกับแผ่นกราฟีนออกไซด์ (GO) ผลการวิเคราะห์พบว่าประสิทธิภาพของเซนเซอร์มีการเลือกที่จาเพาะดี มีช่วงของความสัมพันธ์ที่เป็นเส้นตรงกว้างอยู่ที่ 0.4 ถึง 820 ไมโครโมลาร์ และขีดจากัดในการตรวจวัดต่าถึง 0.24 ไมโครโมลาร์ (S/N = 3)

คำสำคัญ : โดปามีนไบโอเซนเซอร์ กลูโคสเซนเซอร์ ยูริคเซนเซอร์ วัสดุนาโน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Sensors Fabrication Using Signal Enhanced Nanotechnology for Personal Diagnosis
Abstract :

This program contains 3 projects following (1) dopamine biosensor, (2) glucose sensor, and (3) uric sensor. The first project was the dopamine biosensors development using gold nanoparticles (AuNPs) at carbon dots (CDs) sheathed by the chitosan (CHIT) (AuNPs@CDs-CHIT) and the tyrosinase enzymes (Tyr) on the surface of glassy carbon electrode (GCE) (Tyr/AuNPs@CDs-CHIT/GCE). The stability test of the developed dopamine biosensor found more than 35 times usage. The developed dopamine biosensors had been tested with real blood samples without having sample preparation. It provided a percentage recovery in the range of 96.00 - 98.80 percent. The second project was the development of a glucose sensor on the glassy carbon electrode based on Ni particles and ordered mesoporous carbon. It was found that the synthesized nickel particles have rose-like structures. From the results of glucose analysis using electrochemical techniques, it accelerated the reaction of glucose analysis with the signal to background (S / B) is equal to 1.59. The last project was the development of a uric sensor based on Cu metal corporated with graphene oxide (GO). The electrochemical investigation showed that the sensor performed good selectivity and wide linear ranges for the uric acid detection at 0.4 to 820 ?M and the detection limits was down to 0.24 ?M (S/N = 3) for analytes.

Keyword : Dopamine biosensor, Glucose sensor, Uric sensor, Nanomaterials
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานินทร์ แตงกวารัมย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
30 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
35 ไม่ระบุ
3 น.ส.จิราภรณ์ กิติกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
18 ไม่ระบุ
4 นางพิมพร มะโนชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
17 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
48,750.00
   รวมจำนวนเงิน : 48,750.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023