การพยากรณ์แนวโน้มมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-005.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพยากรณ์แนวโน้มมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของไทย
บทคัดย่อ :

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเคลื่อนไหวของมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย เพื่อหาตัวแบบพยากรณ์มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย และ เพื่อพยากรณ์มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย สถิติที่ใช้ในงานวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่ง ตัวสถิติ Jarque-Bera จากนั้นทดสอบความนิ่ง (Unit Root Test) และนาข้อมูลที่ได้ไปสร้างตัวแบบพยากรณ์ที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการพยากรณ์มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย

ผลการวิจัย พบว่าความเคลื่อนไหวของมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ -0.005294 มีค่าสูงสุดเท่ากับ 0.926019 และค่าต่าสุดเท่ากับ -0.725050 จากการทดสอบการแจกแจงของโดยใช้สถิติ Jarque-Bera พบว่าให้ค่าความเบ้เท่ากับ 0.155374 ค่าความโด่งเท่ากับ 4.096341 และให้ค่าสถิติ Jarque-Bera เท่ากับ 5.140012 โดยให้ค่า Probability เท่ากับ 0.07 แสดงว่า ข้อมูลอัตราผลตอบแทนมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทยมีการแจกแจงแบบปรกติ โดยความเคลื่อนไหวของมูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทยในช่วง เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 มูลค่าการส่งออกมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับ 8 ล้านบาทโดยเฉลี่ย แต่ในช่วงต้นเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 มีแนวโน้มของมูลค่าการส่งออกเพิ่มสูงขึ้นและมีมูลค่าการส่งออกสูงถึง 48 ล้านบาทโดยประมาณในเดือนมีนาคม พ.ศ.2561

ในส่วนการศึกษาหาตัวแบบพยากรณ์ที่เหมาะสมของการพยากรณ์มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดของประเทศไทย โดยใช้แบบจาลอง GARCH(p,q) พบว่า แบบจาลอง GARCH(0,2) มีความเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้พยากรณ์มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดในอนาคต โดยมีสมการพยากรณ์ คือซึ่งจากการตรวจสอบความเหมาะสมด้วยค่า Q-Statistics พบว่าค่าความแปรปรวนของค่า

คลาดเคลื่อนเป็นอิสระจากกัน หมายความว่าตัวแบบพยากรณ์ GARCH(0,2) มีความเหมาะสมที่จะ

นามาใช้พยากรณ์ได้ โดยให้ค่าความคลาดเคลื่อนจากการพยากรณ์โดยใช้ค่า MAE (Mean Absolute

Error) และค่า MSE (Mean Square Error) เท่ากับ 0.0661 และ 0.0079 ตามลา ดับ

คำสำคัญ : อัตราผลตอบแทน , การทดสอบยูนิตรูท , ตัวแบบ GARCH(p , q) , การพยากรณ์แน้วโน้ม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Trend Forecasting of Pineapple Export Value of Thailand
Abstract :

The purpose of this research was to examine the movement of Thailand’s pineapple export

value, determining the forecasting model using GARCH(p,q) for predicting the pineapple export

value in the future.

The results were found that the average of pineapple export value is -0.005294 , maximum

and minimum value of export are 0.926019 and -0.725050 respectively. By using Jarque-Bera

statistics testing, it reveals that Thailand’s pineapple export value is normality. The trend of

pineapple export value of Thailand tends to be stable during January 2015 till December 2016 at 8

million baht on average. At the beginning of January 2017, the pineapple export value increase

gradually and the export value is highest in March of 2018 at 48 million baht approximately. For

determining forecasting model using GARCH(p,q), it shows that the best fitting model for

predicting the pineapple export value is GARCH(0,2) which can be written as,

ht 0.0300 1.3720ht 1 1.0036ht 2 ? ? = + ?

The results for the performance of predictions using GARCH(0,2) using MAE and MSE are 0.0661

and 0.0079 respectively.

Keyword : Returns, Unit Root Tests, GARCH(p, q) model, trend forecasting
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ โฆษภัทรพิมพ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
199,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 199,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023