การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการผลิตสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-005.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการผลิตสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก
บทคัดย่อ :

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการผลิตสับปะรดผลสดภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) แรงจูงใจ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจผลิตสับปะรดผลสด ปัญหาและอุปสรรคในการผลิตสับปะรดผลสด เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตสู่การแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยสารวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด ในจังหวัดราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ จานวน 282 คน จาแนกเป็นผู้ปลูกสับปะรดผลสด จานวน 117 คน และสับปะรดโรงงาน จานวน 165 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติไคกาลังสอง การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ได้ผลการวิจัยดังนี้

พันธุ์สับปะรดผลสดที่เพาะปลูก ได้แก่ พันธุ์ปัตตาเวีย เพชรบุรี1 MD2 เป็นต้น ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 5.88 ตัน/ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยยังไม่รวมค่าต้นพันธุ์ 21,106 บาท/ไร่ ผลตอบแทนเฉลี่ยของสายพันธุ์ปัตตาเวีย เพชรบุรี1 MD2 เท่ากับ 39,932 120,000 และ 75,000 บาท/ไร่ และจานวนต้นพันธุ์ 7,223 7,600 5,000 ต้น/ไร่ ตามลาดับ

จากการศึกษาด้านประสิทธิภาพการผลิตภายใต้มาตรฐาน GAP พบว่า กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรราว 1 ใน 3 ได้รับการรับรองการผลิตตามมาตรฐาน GAP โดยพบกว่ากลุ่มเกษตรกรสับปะรดผลสดมีการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP ที่ดีกว่าผู้ปลูกสับปะรดโรงงาน โดยประสิทธิภาพการผลิตนั้นขึ้นกับความรู้ของเกษตรกร คือ การอบรมมาตรฐาน GAP และการอบรมการเพาะปลูกสับปะรดผลสด

นอกจากนี้พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการเพาะปลูกสับปะรดผลสด คือ ภูมิลาเนา การปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP และการอบรมการเพาะปลูกสับปะรดผลสด โดยราคาสับปะรดผลสดที่สูงกว่าสับปะรดโรงงานเป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการเพาะปลูกสับปะรดผลสดปัญหาและอุปสรรคในการเพาะปลูก คือ ราคาผลผลิตตกต่า ปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ปัญหาด้านเงินทุน ปัญหาเกี่ยวกับจานวนผลผลิตที่มีปริมาณไม่แน่นอน และปัญหาศัตรูพืชรบกวน/โรค ตามลาดับ จากผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรต้องการให้ภาครัฐให้ความช่วยเหลือทางด้านราคาของผลผลิต หาตลาดในการจาหน่ายผลผลิต และการหาเงินทุนให้กับเกษตรกร

คำสำคัญ : การปลูกสับปะรด การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ การถดถอยโลจิสติก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Efficiency Analysis on Pineapple Production for export
Abstract :

The objective of this study was to study the efficiency of fresh pineapple production under the Good Agricultural Practices (GAP) standard for export, motivation and factors affecting the decision of fresh pineapple production, problem and obstacles in the production of fresh pineapples for developing production efficiency and competing in the ASEAN Economic Community (AEC). Data were surveyed form the samples of pineapple producers in Ratchaburi, Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan provinces using the sample size of 282 which is classified as 117 fresh pineapple growers and 165 factory pineapples. The statistics used for analysis are descriptive statistics, chi-squared test, multiple regression analysis and logistic regression analysis. The results were as follows:

The pineapple cultivated is Pattawia, Phetchaburi1, MD2, etc. The average yield was 5.88 tons / rai, the average production cost does not include the plant was 21,106 baht/rai, the number of seedlings 7,223 7,600 and 5,000 trees/rai, respectively.

In term of production efficiency, it was found that about one third of the growers were certified according to GAP standards. The fresh pineapple growers complied with the GAP standard better than factory pineapple farmers. The efficiency of production depends on the knowledge of farmers, especially the GAP standard training and fresh pineapple cultivation training.

In addition, the factors affecting the decision of fresh pineapple cultivation were domicile, GAP compliance and fresh pineapple cultivation training. it was found that higher price of fresh pineapples is an important incentive for the cultivation of fresh pineapples.

The results show that problems and obstacles in pineapple cultivation were the decline in product prices, high production costs, funding issue, unstable yields, pest and disease, respectively. Moreover, growers wanted the government to provide assistance in terms of prices, market to distribute produce and funds for growers.

Keyword : Pineapple cultivation, Good agricultural practice, Cost and Return, Efficiency analysis Logistic regression analysis
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
271,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 271,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023