การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-004.6
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
บทคัดย่อ :

แป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์มีประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้บริโภค งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพการหุงต้มดีให้มีปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์สูงขึ้น และการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่ยึดติดกับปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ในข้าว โดยใช้ข้าวพันธุ์กข 43 เป็นพันธุ์ให้ ส่วนปทุมธานี 1 และ กข-แม่โจ้ 2 เป็นพันธุ์รับ เครื่องหมายโมเลกุลที่ใช้ในการคัดเลือกและตรวจสอบลูกผสมมาจาก 3 ยีนที่อยู่ในวิถีการสังเคราะห์แป้ง ได้แก่ ยีน SSIIIa, SBEIIb และ Waxy พบว่า สามารถผลิตลูกผสม F1, F2, BC1F1, BC1F2 และ BC2F1ได้ทั้งจากคู่ผสม ปทุมธานี 1 x กข 43 และ กข-แม่โจ้ 2 x กข 43 อย่างไรก็ตามข้าวพันธุ์ให้คือ กข 43 มีปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ต่า จึงได้เตรียมแผนปฏิบัติการในปี 2563 ไว้จานวน 3 แผน

คำสำคัญ : ข้าว แป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ เครื่องหมายโมเลกุล
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Improvement of rice variety to increase resistant starch using molecular marker-assisted selection
Abstract :

Resistant starch is beneficial for comsumer’s health. This research aimed to increase resistant starch content in rice which has good cooking and eating quality, and develop molecular marker linking with resistant starch content in rice. RD 43 was the donor, whereas, Pathum Thani 1 and RD Maejo 2 were recipients. Molecular markers that were used in hybrid selection were from three starch biosynthesis pathway genes; SSIIIa, SBEIIb and Waxy. The results showed that F1, F2, BC1F1, BC1F2 and BC2F1 hybrids were able to produce both from Pathum Thani 1 x RD 43 and RD Maejo 2 x RD 43. However, RD 43 had low amount of resistant starch and therefore the three action plans for year 2563 were prepared.

Keyword : Rice, Resistant starch, Molecular marker
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพเยาว์ คบพิมาย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
80 ไม่ระบุ
2 นายศรัณย์ จีนะเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 รองศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ หวังเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
746,937.00
   รวมจำนวนเงิน : 746,937.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023