การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสาหรับคนรักสุขภาพและผู้สูงอายุโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล และปลูกคัดเลือกในระบบอินทรีย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-004
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสาหรับคนรักสุขภาพและผู้สูงอายุโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล และปลูกคัดเลือกในระบบอินทรีย์
บทคัดย่อ :

ปัจจุบันประชากรไทย และประชากรโลกก้าวเข้าสู่ยุคสังคมผู้สูงอายุ ปัญหาที่สาคัญ คือ ทาอย่างไรให้ผู้สูงอายุยังคงมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงไม่ถูกโรคภัยไข้เจ็บคุกคาม โรคที่พบในผู้สูงอายุ คือ โรคเบาหวาน มะเร็ง โรคหัวใจ และหลอดเลือดที่เกิดจากการอุดตันจากไขมัน โรคความดันโลหิตสูง และอื่นๆ อีกมากมาย วิธีหนึ่งที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว คือ การกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และปลอดภัยปราศจากสารเคมีเจือปน ข้าวโภชนาการสูงที่มีสารอาหารเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น สารต้านอนุมูลอิสระ แอนโทไซยานิน แกมม่าโอริซานอล วิตามินต่างๆ ที่ช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง ช่วยลดน้าตาลในเลือด ข้าวโภชนาการสูงส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มข้าวสี เช่น สีดา และแดง นอกจากนี้การผลิตข้าวของไทยมีการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายซึ่งเป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ผลิต ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม จากปัญหาที่พบทาให้คณะผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงความสาคัญเหล่านี้ จึงจาเป็นต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโภชนาการสูง และมีความต้านทานต่อโรคแมลงของข้าวสาหรับปลูกในระบบอินทรีย์ เพื่อให้เหมาะสาหรับคนที่รักสุขภาพและกลุ่มผู้สูงอายุ รวมทั้งให้ลดการใช้สารเคมีเพื่อปลอดภัยกับผู้ผลิต และบริโภค รวมทั้งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงกำรย่อยที่ 1 การทดสอบผลผลิต การคุ้มครองพันธุ์ และการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสายพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ยข้าวเจ้า/ข้าวเหนียว หอม สีแดง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แก้ปัญหาโรคมะเร็ง และโรคหัวใจ โครงกำรย่อยที่ 2 การคัดเลือก ศึกษาพันธุ์ และทดสอบผลผลิตของสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลงที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แก้ปัญหาโรคมะเร็ง โรคหัวใจ และลดการการใช้สารเคมี โครงกำรย่อยที่ 3 การศึกษาคุณภาพทางเคมี และการสีของเมล็ดของสายพันธุ์ข้าวที่ได้จากโครงการย่อยที่ 1 และ 2 โครงกำรย่อยที่ 4 การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ แก้ปัญหาโรคมะเร็ง โครงกำรย่อยที่ 5 การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณสารลูทีนหรือซีแซนทีนโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอจาเพาะยีนช่วยในการคัดเลือก แก้ปัญหาเกิดภาวะเสื่อมของจอตา โครงกำรย่อยที่ 6 การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก แก้ปัญหาโรคเบาหวาน

คำสำคัญ : สังข์หยดพัทลุง , หอมมะลิแดง , ข้าวโภชนาการสูง , การคัดเลือก , การศึกษาพันธุ์ การทดสอบผลผลิต , การคุ้มครองพันธุ์พืช , การผลิตเมล็ดพันธุ์ , ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง , ข้าวต้นเตี้ย ข้าวเจ้า , ข้าวเหนียว , ข้าวหอม , ข้าวสีแดง , ต้านทานต่อโรคแมลง , อะมิโลส , การละลายตัวในสารละลายด่าง , ความคงตัวของแป้งสุก , อุณหภูมิแป้งสุก , อัตราการยืดตัวของเมล็ดข้าวสุก , คุณภาพการสี , ข้าว , แอนโทไซยานิน , สารลูทีน , แป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ , เครื่องหมายโมเลกุล , เครื่องหมายดีเอ็นเอ , เครื่องหมายที่จาเพาะยีนสังเคราะห์ลูทีน , ยีนควบคุม , ยีนโค
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Improvement of Rice Varieties to Increase Nutritional Values for Health-care and Elderly People by Molecular Marker-assisted Selection in Organic Production System.
Abstract :

Currently, Thai population and the world population have entered the aging society. The important problem is how to maintain elderly people in good health and protected from diseases. Diseases found in the elderly are diabetes, cancer, cardiovascular disease caused by blockage of fat, hypertension, and many others. One way to solve this problem is to eat healthy and safe food without chemical contamination. Highly nutritious rice beneficial to the body contains antioxidants, anthocyanins, gamma, orizanol, and vitamins. These nutrients help to slow down the degeneration of cells, reduce the risk of cancer and reduce blood sugar. Most nutritious rice is pigmented rice i.e black and red. In addition, Thai rice production uses harmful chemicals, which is another problem that directly affects producers, consumers and the environment. From the problems found, the research team recognized this importance. Therefore, there is a demand for breeding of rice with high nutrient content, resistant to disease and insects for organicproduction to make it suitable for elderly people and healthy diet, as well as reducing the use of chemicals to be safe for manufacturers and consumers and being environmentally friendly. The study includes the following: Sub-project 1 Yield trials, plant protection and seed production of non-photoperiod sensitive, semi-dwarf, aromatic, red, non-glutinous/glutinous and high nutritional value of Sang Yod Phatthalung rice lines. Solve the problem of cancer and heart disease Sub-project 2 Selection, observation and yield trials of non-photoperiod sensitive, semi dwarf, aromatic non-glutinous, resistant to diseases and insect and high nutritional value of Hom Mali Dang rice lines. Solve cancer problems, heart disease and reduce the use of chemicals. Sub-project 3 Study of chemical and milling quality of rice varieties from Subproject 1 and Subproject 2. Sub-project 4 Improvement of rice varieties to increase anthocyanins by molecular marker-assisted selection for increased nutritional values. Solve cancer problems. Sub-project 5 Improvement of rice varieties to increase lutein or zeaxanthin by gene specific DNA marker selection. Solve the problem of macular degeneration. Subproject 6 Improvement of rice variety to increase resistant starch using molecular marker-assisted selection. Solve diabetes problems.

Keyword : Sang Yod Phatthalung, Hom Mali Dang, High Nutritional Rice, selection, observation, Yield Trials, Protection of Rice, Seed Production, Non-photoperiod Sensitive Rice, Semi-dwarf Rice, Non-glutinous Rice, Glutinous Rice, Aromatic Rice and Red Rice, disease and insect resistance, Amylose, Alkaline test, Gel consistency, Gelatinization temperature, Elongation ratio, Milling Quality, rice, anthocyanins, Lutein, Resistant starch, Molecular marker, DNA markers, Lutein specific gene markers, regulatory
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ แสงทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
233,418.00
   รวมจำนวนเงิน : 233,418.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023