การเตรียมฟิล์มคอมพอสิตทางชีวภาพของแป้งมันสำปะหลังเสริมแรงด้วยไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสจากเปลือกข้าวโพด

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-040/61-055
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเตรียมฟิล์มคอมพอสิตทางชีวภาพของแป้งมันสำปะหลังเสริมแรงด้วยไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสจากเปลือกข้าวโพด
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ได้ทาการเตรียมฟิล์มแป้งมันสาปะหลังโดยมีกลีเซอรอลเป็นสารเสริมสภาพพลาสติก เสริมแรงด้วยไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่สกัดได้จากเปลือกข้าวโพดซึ่งเป็นเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ทาการสกัดไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสจากเปลือกข้าวโพดด้วยกระบวนการปรับสภาพรวมทั้งการฟอกขาวและการทาไฮโดรไลซิสด้วยกรดซัลฟิวริกตามลาดับ หลังจากนั้นทาการเติม ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส ร้อยละ 0-60 โดยน้าหนักของแป้ง เป็นสารเสริมแรงลงในฟิล์มแป้ง ทาการศึกษาผลของการเติมไมโครตริสตัลลีนเซลลูโลสที่มีต่อลักษณะทางสัณฐานวิทยา สมบัติทางความร้อน และสมบัติเชิงกลของฟิล์มคอมพอสิตทางชีวภาพที่เตรียมได้ ผลการศึกษาพบว่าลักษณะทางสัณฐานวิทยาของไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสจากเปลือกข้าวโพดมีลักษณะเป็นเส้นใยยาว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-20 ?m และมีความยาวเฉลี่ยมากกว่า 1000 ?m สาหรับฟิล์มแป้งที่เสริมแรงด้วยไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสมีความใสน้อยกว่าฟิล์มที่ไม่ถูกเสริมแรงและมีลักษณะขุ่นมากขึ้นตามปริมาณไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เพิ่มขึ้น การเติมไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสในฟิล์มแป้งช่วยปรับปรุงเสถียรภาพทางความร้อน ค่าความทนแรงดึง และค่ามอดุลัสของยัง ให้ดีขึ้น การเติมไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสร้อยละ 20 โดยน้าหนักของแป้งส่งผลให้ฟิล์มมีค่าความทนแรงดึงและค่ามอดุลัสของยังสูงสุด คือ 3.48 เมกะปาสคาล และ 16.91 เมกะปาสคาล ตามลาดับ

คำสำคัญ : เซลลูโลส , เปลือกข้าวโพด , แป้ง , ไบโอคอมพอสิต , ฟิล์ม , พอลิเมอร์ย่อยสลายได้
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Preparation of Corn Husk Microcystalline Cellulose Reinforced Cassava Starch Biocomposite Films
Abstract :

Starch-based films plasticized by glycerol reinforced with cellulose were prepared. Microcrystalline cellulose (MCC) from corn husk was extracted by pretreatment process, including delignification, bleaching and acid hydrolysis using sulfuric acid. The MCC was mixed by varying weight ratio of MCC from 0 to 60 wt%. The effects of MCC content on morphological, thermal and mechanical properties were characterized. Microcrystalline cellulose from corn husk show fibrous morphology with diameter of 10-2- ?m and average length of >10,000 ?m. The biocomposite films containing MCC were less transparent than the films without MCC. The haze of biocomposite films readily increased with the increasing amount of MCC. The incorporation of MCC improved the thermal stability, tensile strength and Young’s modulus of plasticized starch. Presence of 20 wt% of MCC in biocomposite film resulted in maximum tensile strength and Young’s modulus. The maximum tensile strength and young’s modulus of starch-based film reinforced with 20 wt% MCC were as high as 3.48 MPa and 16.91 MPa, respectively.

Keyword : CELLULOSE, CORN HUSK, STARCH, BIOCOMPOSITE, FILM, BIODEGRADABLE POLYMER
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษารัตน์ รัตนคำนวณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
90 ไม่ระบุ
2 นายพรเทพ ไชยวุฒิ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
205,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 205,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023