การศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก ติดผล ปริมาณ และคุณภาพลำไยลูกผสม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-035/61-043
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก ติดผล ปริมาณ และคุณภาพลำไยลูกผสม
บทคัดย่อ :

-การศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก ติดผล ปริมาณ และคุณภาพผลผลิตของต้นลำไยลูกผสม จำนวน 18 คู่ผสมเปรียบเทียบกับพันธุ์อีดอ พบว่า การเจริญเติบโตทั้งความกว้างทรงพุ่ม ความสูงต้น และเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น ไม่แตกต่างกัน ส่วนต้นลำไยคู่ผสมมีการออกดอก 6 คู่ผสม ได้แก่ (อีดอ27-1 ? สีชมพู 12) F1-4, (อีดอ27-1 ? สีชมพู 12) F1-3, (อีดอ27-1 ? สีชมพู 12) F1-1, (สีชมพู-7 ? ดอก้านแข็ง-8) F1-4, (ดอก้านแข็ง-7 ? สีชมพู-12) F1-5 และ(กรอบกะทิ-1 ? อีดอ) F1-1 ต้นลำไยลูกผสมใช้ระยะเวลาตั้งแต่เพาะเมล็ดจนถึงวันออกดอก 3 ปี 11 เดือน ซึ่งเป็นคู่ผสมที่อายุน้อยที่สุดที่มีการออกดอก ส่วนลูกผสมอื่นที่ออกดอกอายุต้นลำไย 4 ปี ขึ้นไปและคุณภาพผลลำไยลูกผสม มีผลผลิตเพียงคู่ผสมเดียว คือ (อีดอ27-1 ? สีชมพู 12) F1-4 โดยลักษณะผิวผลเรียบ เนื้อสีขาวขุ่น กลิ่นคาว เนื้อผลกรอบ รสหวาน เมล็ดโต โดยลักษณะทางกายภาพของผลลูก F-1 มีลักษณะ ดังนี้ น้ำหนักของผล เนื้อ และเมล็ด เท่ากับ 11.53 กรัม, 7.25 กรัม และ 2.25 กรัมตามลำดับ ขนาดความกว้างและความยาวของผล เท่ากับ 25.63 มิลลิเมตร และ 27.45 มิลลิเมตร ตามลำดับ และปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้เท่ากับ 18.11 องศาบริกซ์

คำสำคัญ : ลาไย การทดสอบลูกผสม ระยะเยาว์วัย คุณภาพผลผลิต
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : A Preliminary Study on Longan Artificial Crossing and Several Traits of Hybrid Populations.
Abstract :

-

From the results of the study on the growth, inflorescence, fruiting, yield and product quality of 18 lines of F1-hybrid longan in comparison with E-Daw variety, it was shown that growth in terms of canopy width, plant height and stem diameter did not show any difference. Only 6 lines of F1-hybrid longan that were F1-4 (E-Daw 27-1 x SiChompoo 12), F1-3 (E-Daw 27-1 x SiChompoo12), F1-1 (E-Daw 27-1 x SiChompoo 12), F1-4 (SriChompoo7x DawKanKheng 8), F1-5 (DawKanKheng 7 x SiChompoo 12) and F1-1 (KrobKahti x E-Daw), were found to flower. The shortest time to flower from seed germination was 3 years and 11 months, whereas the other hybrids took more than 4 years. After flowering, only one line of the hybrid, F1-4 (E-Dow 27-1 x SiChompoo 12), could set the fruits. The characteristics of the hybrids showed smooth rind, color of aril was creamy white. The texture of flesh was crispy and sweet and it had a big seed. The physical characteristics of F1-hyrid as follow: fruit, aril and seed weight was 11.53 g, 7.25 g, and 2.25 g, respectively. Fruit width and length was 25.63 mm and 27.45 mm, respectively and total soluble solids was 18.11obrix.

Keyword : Longan Test of progeny Juvenile period Fruit quality
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นางจิรนันท์ เสนานาญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร / กองบริหารงานวิจัย / งานบริหารเงินทุนวิจัย
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีรนุช เจริญกิจ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 น.ส.พรสวรรค์ ดวงจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร / กองบริหารงานวิจัย / งานบริหารเงินทุนวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในหน่วยงาน
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
277,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 277,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023