การผลิตชา การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันจากใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-002.5
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตชา การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันจากใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง
บทคัดย่อ :

ข้าวเหนียวเป็นอาหารหลักที่คนส่วนใหญ่นิยมบริโภค เนื่องจากเป็นแหล่งของพลังงานและสารอาหารต่างๆ โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชียซึ่งประชาชนนิยมบริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก นอกจากนี้มนุษย์และสัตว์ยังได้มีการบริโภคใบอ่อนของข้าวทั้งในรูปแบบสดและแห้ง เนื่องจากในใบอ่อนข้าวอุดมไปด้วยคลอโรฟิลล์ แร่ธาตุ เอนไซม์ และสารพฤกษเคมี

งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตชาและองค์ประกอบทางพฤกษเคมีของชาใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง โดยใช้ใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตองระยะ 9 วัน นามาผลิตชาใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง ชาที่ได้มีสีเขียวอ่อนมีกลิ่นหอม ใบอ่อนต้นข้าวถูกนามาแปรรูป โดยการอบใบสดที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 นาที การศึกษาองค์ประกอบทางพฤกษเคมีของชาใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง ทาโดยการสกัดชาด้วยน้าร้อนในอัตราส่วน 5:100 น้าหนักต่อปริมาตร จากผลการวิจัยพบว่าสารสกัดจากชาใบอ่อนต้นข้าวประกอบด้วย น้าตาลรีดิวซ์ ซาโปนิน ฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีนอยด์ จากการศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของชาใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตอง พบว่ามีปริมาณฟีนิลิกรวมอยู่ในช่วง 2.16 – 2.97 มิลลิกรัมแกลลิกต่อกรัมสารสกัดหยาบ และปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระที่ความเข้มข้น 1000 พีพีเอ็ม ที่วิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH มีเปอร์เซ็นต์ยับยั้งเป็น 3.18 และการวิเคราะห์ด้วยวิธีการหาค่า FRAP พบว่ามีค่า 267 ไมโครโมลต่อกรัมของตัวอย่าง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่าตองเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยสารพฤกษเคมีซึ่งเหมาะสาหรับใช้ในการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ

คำสำคัญ : องค์ประกอบทางพฤกษเคมี , ฤทธิ์การต้านออกซิเดชัน , ใบอ่อนข้าว , ชาใบอ่อนข้าว
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Production of tea, Phytochemical constituents and Antioxidant Activities Investigation from San Pa Tong Variety Leaves
Abstract :

Glutinous rice is a widely consumed staple food, providing energy and nutrients for more than half of the world’s population, particularly in Asia. In fresh or dried young rice leaves show the power for animal and human consumption which providing to chlorophyll, mineral, enzyme and phytochemical component.

This study examined the production of tea and phytochemical constituents from San Pa Tong variety rice leaves. The 9-day old leaves of San Pa Tong variety were used to made San Pa Tong young leaves tea. The soft green with good smell of young leaves tea was processed by drying the fresh leaves at 80 ?c for 60 minutes. The phytochemical constituents from San Pa Tong variety young leaves tea were studied via extraction with hot water in ratio 5:100 w/v. According to the results, the tea leaf extract contained reducing sugar, saponin, flavonoids and terpenoids. The antioxidant properties of San Pa Tong rice leaf tea were estimated. Total phenolic content showed in range 2.16-2.97 mg GAE /g crude extract, whereas the antioxidant activity at 1000 ppm exhibited in 3.81% via DPPH assays and FRAP value shown in 267 ?mol/g of sample. Overall, San Pa Tong variety young leaves represent potential rich sources of phytochemical compounds for a healthy food product.

Keyword : Phytochemical constituent, antioxidant activities, young leaves and young leave tea
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนรรฆอร ศรีไสยเพชร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 อาจารย์กัญญา บุตราช
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
3 เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
405,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 405,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023