การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสัน ป่าตอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-002.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสัน ป่าตอง
บทคัดย่อ :

งานวิจัยมากมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งจากการแปรรูปเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน แนวทางพื้นฐานคือเทคนิค 3R ที่มาจากลดการใช้ การใช้ซ้ำและการเวียนใช้

สำหรับโครงการนี้ จึงให้ความสำคัญกับ R : Recycle ซึ่งเป็นการนำสิ่งของที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบเดิมไม่ได้ซึ่งก็คือ เศษใบข้าวเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตอง โดยการนำมาเป็นส่วนผสมในการผลิตภาชนะชั่วคราวจากโฟมแป้ง โดยใช้เศษใบข้าวเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตองไม่เกินร้อยละ 14 โดยน้ำหนักของปริมาณแป้ง ขึ้นรูปด้วยวิธีการกดอัดทางความร้อนโดยใช้อุณหภูมิ 170 oC ความดัน 13.8 เมกกะปาสคาล ได้ภาชนะชั่วคราวขนาดพื้นที่ 144 ตารางเซนติเมตร ความหนา 1 – 2 มิลลิเมตร น้ำหนักเบา มีความหนาแน่น 0.20 – 0.46 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ความหนาแน่นไม่ขึ้นกับปริมาณของเศษใบข้าวเหลือทิ้ง มีความความต้านทานแรงดัด 3.2 – 3.5 เมกกะปาสคาล ซึ่งยังคงต่ำกว่าภาชนะชั่วคราวที่มีขายในท้องตลาดปัจจุบัน (4.18 ? 0.45 เมกกะปาสคาล) ความสามารถในการดูดซับน้ำของภาชนะชั่วคราวจากโฟมแป้งลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณเกาลินในส่วนผสมและปริมาณน้ำยางพาราไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ำหนักของปริมาณแป้ง การเคลือบผิวหน้าภาชนะชั่วคราวด้วยพอลิแลคติดแอซิดช่วยลดอัตราการซึมผ่านของน้ำเข้าสู่ชิ้นงานได้

คำสำคัญ : วัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตอง , วัสดุผสมชีวภาพ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Products from Waste of Processing of San Pa Tong Seedling
Abstract :

There have been many research involving to mitigate the environmental impact by changing the plant processing waste towards the circular economy concept. The basic approach would be 3R (Reduce, Reuse, and Recycle)

Therefore, this research was aimed to recycle approach by adding value to waste from processing of Sanpatong sticky rice seedling. Disposable container was made from starch foam mixed with waste from processing of Sanpatong sticky rice seedling by compression molding method. The content of waste of rice seedling was not more than 14 weight percent of starch foam. The compression condition is 170oC with the pressure of 13.8 MPa. The area, the thickness, and the density of disposable container are 144 cm2, 1-2 mm. and 0.20-0.46 g/cm3, respectively. The disposable container is light and the density does not depend on the content of waste of rice seedling. The flexural strength of disposable container is about 3.2-3.5 MPa which is lower than that of commercial one (4.18 ? 0.45 MPa). The water adsorption of disposable container decreased when adding not more than 10wt% of kaolin and latex rubber in starch foam. Coating with polylactic acid on disposable container can also reduce the water adsorption.

Keyword : Waste of Processing of San Pa Tong Seedling, Biocomposite
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภัสถ์ จันทร์มี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
35 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.สุภาพร ดาวทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตินันท์ รัตนพรหม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.กวินรัตน์ อัฐวงศ์ชยากร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
585,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 585,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023